เผยเทรนด์บริการ ของบริการ Fulfillment พบ ภายในปี 2028 ธุรกิจต้องเตรียมตอบสนองความต้องการแบบ On-Demand จากการโตของ E-Commerce….
E-Commerce ส่งผล!! เครื่องยิงแสกนเนอร์ และพิมพ์ฉลาก อนาคตสดใส
ผลสำรวจ The Future of Fulfillment Vision Study (Asia-Pacific Edition) by ZEBRA เผยว่า ปัจจุบันการเติบโตของตลาด อีคอมเมิร์ซ นั้นมีแนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่อง จากการที่ผู้บริโภคส่วนมากสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีในการเชื่อมโยงสู่ผลิตภัณฑ์ของแบรนด์ได้จากหลากหลายๆ อุปกรณ์ และไม่จำกัดสถานที่ และเวลา
ซึ่งสอดคล้องตัวเลขจาก สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) ที่ภายใน 2 ปี (2020) ตลาดอีคอมเมิร์ซ จะมีมูลค่าสูงถึง 5.6 พันล้านบาท และจะกลายเป็นปัจจัยสำคัญในการเปลี่ยนรูปแบบซัพพรายเชน ไปสู่รูปแบบ Omni-Channel เพื่อแข่งขันในระบบเศรษฐกิจแบบ On-Demand ตามความต้องการของผู้บริโภค
มร. ทาน อิ๊ก จิน, ผู้จัดการธุรกิจ Vertical Solutions, ซีบรา เทคโนโลยีส์ เอเชีย แปซิฟิค กล่าวว่า แรงผลักดันจากเหล่านักช้
จากการศึกษาวิจัยในหัวข้อ Future of Fulfillment Vision Study ของซีบรา พบว่า อีคอมเมิร์ซกำลังเป็นตัวขับเคลื่
และ Business Intelligence (เทคโนโลยีสำหรับการรวบรวมข้อมู
จากผลสำรวจของซีบรา พบว่า 95% ของบริษัทผู้ผลิต บริษัทขนส่งโลจิสติกส์ (T&L) และธุรกิจค้าปลีกเชื่อว่าอีคอมเมิร์ซจะเป็นตัวขับเคลื่อนให้มีการส่งมอบให้เร็วขึ้น ขณะที่ 67% ของบริษัทโลจิสติกส์คาดว่าใน 5 ปี (2023) จะสามารถจัดส่งสินค้าได้ภายใน 1 วัน และภายใน 10 ปี (2028) จะส่งได้เพียงในเวลา 2 ชม.
96% ของบริษัทผู้ผลิต บริษัทขนส่งโลจิสติกส์ (T&L) และธุรกิจค้าปลีก เตรียมที่จะใช้บริการจัดส่งแบบการทำงานร่วมกันในการจัดส่ง และมอบอำนาจในการเลือกให้บริการตามคำสั่งซื้อ (Crowdsourced Delivery) ภายใน 10 ปี
ผลสำรวจยังชี้ให้เห็นถึงการเปลี่
ขณะที่ 99% ของร้านค้าปลีกเตรียมที่จะให้บริการสั่งซื้อออนไลน์ และสามารถรับสินค้าได้ที่ร้าน เพื่อเพิ่มความสะดวก และคล่องตัวให้ธุรกิจ และ 93% ของบริษัทผู้ผลิต บริษัทขนส่งโลจิสติกส์ (T&L) และธุรกิจค้าปลีก เห็นตรงกันว่า การรับ และการจัดการการคืนสินค้ายังเป็นเริ่องท้าทาย ซึ่งปัจจุบันยังมีข้อบกพร่อง และต้องพัฒนา
ปัจจุบัน 58% ของธุรกิจค้าปลีกจะคิดค่าบริการเพิ่มกรณีผู้บริโภคต้องการส่งคืนสินค้า แต่ 71% มีความคิดที่จะเปลี่ยนนโยบายนี้ อย่างไรก็ตาม 92% ของบริษัทผู้ผลิต บริษัทขนส่งโลจิสติกส์ (T&L) และธุรกิจค้าปลีก เห็นตรงกันว่าเรื่องของเงินทุน และค่าใช้จ่ายเพื่อให้สามารถให้บริการแบบ Omni-Channal
ที่รวมทั้งช่องทางออนไลน์ และอ๊อฟไลน์ คือควาทท้าทายหลัก แต่มีเพียง 42% ของซัพพลายเชนที่ตอบแบบสอบถาม ให้บริการในแบบ Omni-Demand ซึ่งขัดแย้งเป็นอย่างยิ่งเมื่
นอกจากนี้ยังพบว่า 55% ของบริษัทผู้ผลิต บริษัทขนส่งโลจิสติกส์ (T&L) และธุรกิจค้าปลีกยังคงใช้ กระดาษ และปากกาจด ทำให้ก้าวสู่บริการแบบ Omni-Channal ได้ลำบาก โดยภายในปี 2021 กว่า 99% ของผู้ที่ให้บริ
เล็งที่จะใช้คอมพิวเตอร์พกพาที่มีเครื่
ในอนาคต ผู้บริหารในองค์กรต่างๆ ต่างให้ความเห็นว่าจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องสร้าง ซัพพรายเชนต้องมีโซลูชั่นส์ที่เชื่อมโยง มีข้อมูลเชิงลึกทางธุรกิจ และเป็นระบบอัตโนมัติ ซึ่งจะช่วยเพิ่มความเร็ว ความแม่นยำ และความคุ้มค่าในการขนส่งและแรงงานอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน
โดยคาดว่า เทคโนโลยีใหม่ที่จะพลิกโฉมการดำเนินธุรกิจ (หรือที่เรียกกันว่า disruptive technologies) มากที่สุด ก็คือ โดรน หรือยานพาหนะที่ไร้คนขับ/ขับขี่ได้เอง, เทคโนโลยีที่สวมใส่ไว้กับร่างกาย(wearable)และเทคโนโลยีพกพา รวมถึงเทคโนโลยีหุ่นยนต์ นอกจากนี้ การใช้เทคโนโลยี RFID (radio-frequency identification)
และแพลตฟอร์มการจัดการสินค้าคงคลังจะเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 32 เป็น 95 ในปี 2028 ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และ tagging solution ที่ขับเคลื่อนโดย RFID จะช่วยให้สามารถมองเห็นข้อมูลสินค้าคงคลังได้ลึกลงไปถึงระดับรายการย่อย และเป็นปัจจุบันมากที่สุด
ทั้งยังเพิ่มความถูกต้องของข้อมูลสินค้าคงคลังและความพึงพอใจของผู้ซื้อพร้อมกับลดปัญหาสินค้าขาดหรือมีมากเกินความต้องการในสต๊อก หรือปัญหาความผิดพลาดในการเติมสินค้า
สร้างการเปลี่ยนแปลง เท่ากับเพิ่มโอกาสทางธุ รกิจ
ศิวัจน์ โรจนเต็มศักดิ์ ผู้จัดการประจำประเทศไทย ซีบรา เทคโนโลยีส์ กล่าวว่า ธุรกิจอีคอมเมิร์ซที่กำลังเติ
ซึ่งจะมีการศึกษาและนำข้อมูลการใช้บริ
ซึ่งได้เล็งเห็นทิศทางดังกล่าว และได้ เปิดตัวเครื่องพิมพ์
ที่จะช่วยเพิ่มขี
ส่วนขยาย
* บทความนี้เรียบเรียงขึ้นเพื่อวิเคราะห์ในแง่มุมที่น่าสนใจ ไม่มีวัตถุประสงค์มุ่งเพื่อโจมตีหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง
** Compose : ชลัมพ์ ศุภวาที (Editors and Digital Content)
*** ขอขอบคุณภาพบางส่วนจาก www.pexels.com
สามารถกดติดตาม ข่าวสาร และบทความทางด้านเทคโนโลยี ของเราได้ที่