คันไซ อิเลกทริค เพาเวอร์ จำกัด (The Kansai Electric Power Co., Inc. หรือ KEPCO) ผู้ผลิตมิเตอร์ไฟฟ้าญี่ปุ่น ล้ำ!! ใช้ AI วิเคราะห์รูปแบบการใช้ชีวิตผู้พักอาศัยแต่ละราย…
ปัจจุบันในประเทศญี่ปุ่น ได้มีการเปิดเสรีการผลิตไฟฟ้
หรือเรียกง่ายๆว่า ต้องเป็นผู้ให้บริการที่สามารถสร้างบริการที่เพิ่มคุณค่
ทำให้ บริษัท คันไซ อิเลกทริค เพาเวอร์ จำกัด (The Kansai Electric Power Co., Inc. หรือ KEPCO) ได้เดินหน้ายกระดับการให้บริการด้วยการได้
และได้สร้าง “บริการแจ้งเตือนรูปแบบการใช้ชี
ใช้เทคโนโลยีสร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับลูกค้า
Mr.Reijiro Matsui ผู้จัดการ Living Sales Planning Group สำนักงานใหญ่ด้านลูกค้า บริษัท คันไซ อิเลกทริค เพาเวอร์ (The Kansai Electric Power Co., Inc.) กล่าวว่า เมื่อมีการใช้ เอไอ และเทคโนโลยีขั้นสูงอื่นๆ เป็นเรื่องสำคัญที่สุดที่จะต้
เราหวังที่จะให้บริการที่เพิ่
“เราสังเกตว่าฟูจิ
ตสึมีนักวิทยาศาสตร์ข้อมู ลโดยเฉพาะ ซึ่งมีความเชี่ยวชาญระดับสูง และเราก็มั่นใจในการพัฒนาอั ลกอริทึม AI เพื่อการวิเคราะห์รู ปแบบเฉพาะในแต่ละครัวเรือนของฟู จิตสึอย่างมาก”
รักษาตำแหน่ง “ผู้ให้บริการที่ลูกค้าเลือก” ท่ามกลางการเปิดเสรีของตลาด
การเปิดเสรีของตลาดไฟฟ้าในประเทศญี่ปุ่นเริ่มมีตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2016 และทำให้ครัวเรือนตลอดจนร้านค้าและผู้บริโภคทั่วไปสามารถเลือกผู้ให้บริการไฟฟ้า บริการ และโครงสร้างค่าบริการได้ตามใจชอบก่อนหน้าที่จะมีการปล่อยเสรีตลาดไฟฟ้านั้น
เราได้มีการรณรงค์ให้มีการเปลี่ยนแปลงจากมิเตอร์ไฟฟ้าแบบอะนาล็อกเป็นมิเตอร์อัจฉริยะซึ่งมาพร้อมกับฟังก์ชันข้อมูลและการสื่อสารที่รวบรวมข้อมูลสถานะการใช้ไฟฟ้าทุกๆ 30 นาที มิเตอร์อัจฉริยะเปิดทางให้ผู้ให้บริการบันทึกข้อมูลการใช้ไฟฟ้าผ่านระบบเครือข่ายแบบเรียลไทม์
ทำให้การต้องออกไปอ่านมิเตอร์ทุกเดือนแบบแต่ก่อนเป็นเรื่องล้าสมัย ซึ่งสร้างประโยชน์อย่างมหาศาล เราได้มีการผลักดันให้มีการจัดรูปแบบการแสดงข้อมูลโดยใช้มิเตอร์อัจฉริยะมาสักระยะหนึ่งแล้ว และได้พัฒนาบริการขึ้นมาเพื่อให้สอดคล้องกัน
ซึ่งรวมถึง “Hapi e-Miruden” บริการเว็บแบบสมัครสมาชิกที่เปิดโอกาสให้ลูกค้าได้ตรวจสอบความถูกต้องของการใช้งานไฟฟ้าและค่าไฟรอบปัจจุบันของตนเอง
ด้าน Kazutaka Yamamoto Living Sales Planning Group สำนักงานใหญ่ด้านลูกค้าของ KEPCO กล่าวว่า เราคิดถึงความเป็นไปได้ที่จะให้บริการที่ใกล้เคียงกับรูปแบบการใช้ชีวิตลูกค้าของเรามากกว่าเดิมผ่านการใช้คุณสมบัติของมิเตอร์อัจฉริยะ ซึ่งสามารถรวบรวมข้อมูลการใช้งานไฟฟ้าของแต่ละบ้านได้ทุกๆ 30 นาที
สิ่งนี้เองที่ทำให้เราเปิดตัวคอนเซ็ปต์ “บริการแจ้งเตือนรูปแบบการใช้ชีวิต” (Lifestyle Rhythm Notification Service) ในปี 2016 บริการนี้ช่วยให้เราติดตามสถานะการใช้งานไฟฟ้าของผู้สูงวัยหรือผู้ที่อาศัยในบ้านคนเดียว และแจ้งครอบครัวที่อยู่ที่อื่นของผู้อาศัยเหล่านั้นเมื่อมีการใช้งานที่แตกต่างจากพฤติกรรมปกติ
การใช้ปัญญาประดิษฐ์เพื่อแก้ปัญหาที่ต้องใช้ตรรกะในการตัดสินใจ ซึ่งมีการสร้างรูปแบบได้ยากการเปลี่ยนแปลงในการใช้ไฟฟ้าตามลำดับเวลาเป็นการสะท้อนรูปแบบการใช้ชีวิตของแต่ละบ้านอย่างใกล้ชิด ดังนั้นการระบุรูปแบบการใช้งานของแต่ละครัวเรือนควรเปิดโอกาสให้ผู้ให้บริการบันทึกการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบการใช้ชีวิตด้วยความแม่นยำสูง
การดูกราฟยอดการใช้งานจริงได้เผยให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงหลากหลายรูปแบบในแต่ละครอบครัว แม้แต่ในบ้านเดียวกัน เรายังเห็นถึงความแตกต่างประการใหญ่ๆ ขึ้นอยู่กับวันในแต่ละสัปดาห์และแต่ละฤดูและเราได้เลือกฟูจิตสึเป็นพันธมิตรของเรา
เพื่อช่วยให้เราได้รวมเอาตรรกะวิเคราะห์ที่มีความแม่นยำสูงโดยไม่เบี่ยงเบนจากสถานการณ์ในชีวิตจริงการที่เราเลือกฟูจิตสึนั้นมาจากเหตุผลหลักๆ 2 ประการด้วยกันประการแรกเลยคือ ฟูจิตสึมีประวัติด้านการวิเคราะห์ของบริการคัดสรรข้อมูล (Data Curation Service) ที่เยี่ยมยอดมาก
นอกจากนี้ เรา และ ฟูจิตสึ ยังได้ทำการวิจัยร่วมกันในเรื่องการใช้มิเตอร์อัจฉริยะนับตั้งแต่ และได้เปิดตัวบริการ “Hapi e-Miruden” แบบสมัครสมาชิก
เพื่อเปิดโอกาสให้ลูกค้าได้ตรวจสอบความถูกต้องในการใช้ไฟฟ้าของตนเองแบบเรียลไทม์เหตุผลอีกประการคือ “Marketing AI Container” (ชื่อชั่วคราว) ของฟูจิตสึซึ่งเป็นแพลตฟอร์มที่ใช้คิดตรรกะการวิเคราะห์แม่นยำสูง ซึ่งบริการแจ้งเตือนรูปแบบการใช้ชี
มีไว้ให้สำหรับทุกบ้านที
ก้าวต่อไปคือ “แม่ นยำ คาดการณ์ และหลากหลาย”
จากการเริ่มทดสอบ “บริการแจ้งเตือนรูปแบบการใช้ชี
- ค่าไฟฟ้าที่ต่ำมาก
- แนวโน้มการใช้งานบางแบบที่เห็นได้ชัด
- ความแตกต่างอย่างมากในการใช้งานของผู้ใช้แต่ละราย
- การใช้ไฟฟ้าในช่วงเช้าตรู่และช่วงกลางวัน
- การใช้ไฟฟ้าอย่างหนักในเวลากลางคืน
เราใช้เทคโนโลยีวิเคราะห์แม่นยำสู
ซึี่งในระหว่างที่มีการทดสอบภาคสนาม เรามี
ผู้อาศัยหลายคนแสดงทัศนะว่
สำหรับทุกบ้านที่มีการติดตั้งมิ
เทียบกับบริการติดตามการใช้
เป็นเรื่องสำคัญที่สุดที่จะต้
และนอกจากการทำนายรู
ส่วนขยาย
* บทความเรื่องนี้น่าจะเป็นประโยชน์สำหรับการวิเคราะห์ในมุมมองที่น่าสนใจ
** เขียน: ชลัมพ์ ศุภวาที (บรรณาธิการ และผู้สื่อข่าว)
*** ขอขอบคุณภาพบางส่วนจาก : www.pexels.com
สามารถกดติดตามข่าวสารและบทความทางด้านเทคโนโลยีของเราได้ที่