Facebook IQ เผยผลการศึกษาล่าสุด ชี้ คนไทย ชอบจับจ่ายสิ้นค้า และบริการในช่วงเทศกาลสงกรานต์ มากที่สุด โดยมียอดใช้จ่ายสูงถึง 1.4 หมื่นล้านบาท และเพิ่มขึ้นกว่า 20% ในช่วงเวลาเดียวกันของปี 61…
- สงกรานต์ยังเป็นช่วงเวลาที่
ผู้คนใช้จ่ายและท่องเที่ยวมากที่ สุดในรอบปี โดยมีข้อมูลระบุว่าคนไทยได้เดิ นทางท่องเที่ยวเป็นจำนวนทั้งหมด 3.1 ล้านครั้ง ในช่วงเวลาดังกล่าว และมียอดใช้จ่ายมูลค่า 1.4 หมื่นล้านบาท (ซึ่งสูงขึ้นถึง 20.5% เมื่อเทียบแบบปีต่อปีจากปี 2560) 55% ของการซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์จะเกิดขึ้นในสัปดาห์ก่อนสงกรานต์ (เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเทศกาลทั้งหมด) - ดัชนีความเชื่อมั่
นของผู้บริโภค (Consumer Confidence Index) ระบุว่าความเชื่อมั่นของผู้บริ โภคเพิ่มขึ้นถึง 81% จากช่วงเวลาเดียวกันในปีที่ผ่ านมา ส่วนใหญ่เป็นผลจากการใช้จ่ ายของกลุ่มผู้บริโภคที่เป็นชนชั้ นกลางและกลุ่มผู้บริโภคที่มี กำลังซื้อสูง โดยกลุ่มที่มีกำลังซื้อสูงคือผู้หญิงในช่วงอายุ 25-34 ปี - คนไทยจำนวน 52 ล้านคนใช้งาน เฟซบุ๊ก ผ่านโทรศัพท์มือถือ และ 60% ของนักช้อปที่ใช้โทรศัพท์มือถื
อเป็นหลักเป็นกลุ่มมิลเลนเนี ยลที่มีอายุระหว่าง 18-34 ปี ในขณะเดียวกัน Instagram มีจำนวนผู้ใช้งานกว่า 1 พันล้านคนต่อเดือนทั่วโลก (โดย 80% ของผู้ใช้ อยู่นอกประเทศสหรัฐฯ) - โดยหัวข้อยอดนิยมบน เฟซบุ๊ก ได้แก่ “มิตรภาพ“, “ความรัก“, “การท่องเที่ยว” และ “ครอบครัว” โดย หัวข้ออย่าง “ความรัก“, “การท่องเที่ยว“, “อาหาร“ และ “มิตรภาพ“ เป็นหัวข้อที่ถูกกล่าวถึงมากที่
สุดในโพสต์และการแสดงความคิดเห็ นบน Instagram - 61% ของชาวไทยที่ใช้โทรศัพท์มือถือในการหาข้อมูลร้านค้าในบริเวณใกล้เคียงที่นำเสนอสินค้า และดีลที่ดีที่สุด และ 54% เชื่อว่าสามารถตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าได้ดียิ่งขึ้นเมื่ออยู่หน้าร้าน โดย 80% ของผู้ใช้ อินสตาแกรม ได้ติดตามบัญชีผู้ใช้ที่เป็นธุรกิจ หรือแบรนด์
Facebook IQ เผย Mobile Insights in Today’s Connected Songkran
เทศกาลสงกรานต์คือหนึ่งในช่
โดยมีข้อมูลระบุว่าคนไทยได้เดิ
ซึ่งข้อมูลจาก ดัชนีความเชื่อมั่
โดยจากการเปิดเผยผลการศึกษาล่าสุดที่มีชื่
ซึ่งผลสำรวจระบุว่าโทรศัพท์มือถือเป็นสิ่
และ 60% ของนักช้อปที่ใช้โทรศัพท์มือถื
และมีอัตราผู้ใช้งานที่เติบโตขึ้
การฉลองเทศกาลบนโทรศัพท์มือถื อผ่าน เฟซบุ๊ก และอินสตาแกรม
ในขณะที่ชาวไทยกำลั
ล้วนเป็นหัวข้อที่ได้รับความนิ
ขณะที่ ครอบครัว และเพื่อน เปรียบเสมื
ในขณะที่ผู้ใช้ อินสตาแกรม ได้สร้างเทรนด์ในการกล่าวถึ
โอกาสสำหรับธุรกิจ และแบรนด์ ในเชื่อมต่อกับผู้บริโภคบนโซเซียล
ชวดี วงศ์พยัต หัวหน้าฝ่ายธุรกิ
โอกาสสำหรับธุรกิจ และแบรนด์ในการมีส่วนร่วมกับผู้บริโภคของแอพที่อยู่ในเครือของ เฟซบุ๊ก ในช่วงตลอดเทศกาลสงกรานต์นั้นมีอยู่มากมาย ไม่ว่าพวกเขาจะอยู่ในขั้นตอนใดของการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าก็ตาม โดยเฉพาะในประเทศไทย โทรศัพท์มือถือมีบทบาทที่สำคัญในการค้นหาแบรนด์ของผู้บริโภค
ซึ่งกว่า 61% ของชาวไทยที่ใช้โทรศัพท์มือถือในการหาข้อมูลกล่าวว่าวิธีดังกล่าวเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการค้นหาร้านค้าในบริเวณใกล้เคียงที่นำเสนอสินค้าและดีลที่ดีที่สุด และ 54% กล่าวว่ามันช่วยให้พวกเขาสามารถตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าได้ดียิ่งขึ้นเมื่ออยู่หน้าร้าน
ยิ่งไปกว่านั้น ผลการศึกษาของเรายังระบุว่า 39% ของผู้บริโภค ค้นพบแบรนด์ และผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ จากการรับชมวิดีโอบนโทรศัพท์มือถือ โดยข้อมูลดังกล่าวได้ถูกอ้างอิงมาจากผลการศึกษาของนีลเส็น ในหัวข้อว่า “คุณค่าของวิดีโอ“ ที่จัดทำขึ้นในปี พ.ศ. 2560
โดยได้รับการสนับสนุนจาก เฟซบุ๊ก ซึ่งได้ทำการสำรวจผู้บริโภคที่มีอายุระหว่าง 18-24 ปี จำนวน 22,000 คนใน 10 ประเทศทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ข้อมูลนี้แสดงให้เห็นว่า ธุรกิจมีโอกาสในการเชื่อมต่อกับผู้คนด้วยวิธีการที่มีความหมายมากยิ่งขึ้น เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น
ทั้งในช่องทางออนไลน์ และออฟไลน์ โดย 80% ของผู้ใช้ อินสตาแกรม ได้ติดตามบัญชีผู้ใช้ที่เป็นธุรกิจหรือแบรนด์ และคุณชวดีได้ให้คำแนะนำว่าแบรนด์สามารถเข้ามามีส่วนร่วมได้ตั้งแต่ช่วงที่คนไทยเริ่มโพสต์เกี่ยวกับเทศกาลสงกรานต์ก่อนที่เทศกาลจะมาถึง
โดยจำนวน 55% ของการซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์จะเกิดขึ้นในสัปดาห์ก่อนสงกรานต์ (เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเทศกาลทั้งหมด) ขณะที่ แฟชั่น ความงาม และเครื่องสำอาง คือบทสนทนาที่ได้รับความนิยมมากสุดในช่วงก่อนเทศกาล เนื่องจากผู้คนกำลังเตรียมตัวซื้อของเพื่อเปลี่ยนแปลงตัวเองให้ดูดี และรู้สึกดีในช่วงเทศกาล ขณะที่ ผลิตภัณฑ์บางประเภทมียอดขายเพิ่มขึ้นทั้งในช่วงก่อน และหลังเทศกาลสงกรานต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงหลังเทศกาล
“แม้ว่าเทศกาลจะได้จบลงไปแล้ว แบรนด์ยังคงสามารถสร้างการมีส่วนร่วมกับผู้บริโภคได้อย่างต่อเนื่อง”
ซึ่งปริมาณการซื้อสินค้าในบางประเภทจะเติบโตสูงขึ้นในช่วงหลังเทศกาล เช่น ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ แฟชั่น และสินค้าเกี่ยวกับการท่องเที่ยว ซี่ง 39% ของการซื้อสินค้าในช่วงเทศกาลสงกรานต์ทั้งหมดจะเกิดขึ้นในสัปดาห์หลังเทศกาลปีใหม่ไทย เมื่อผู้คนเดินทางกลับมาถึงบ้าน
และหันมาสนใจกับการซื้อของขวัญ และสินค้าลดราคาแทน บน อินสตาแกรม การใช้จ่ายของผู้บริโภคจะกลับมาอีกครั้งหลังจากเทศกาลจบลงทันที ซึ่งเป็นอีกช่วงเวลาที่ดีสำหรับแบรนด์ในการสื่อสารโปรโมชั่นหรืออีเวนต์ที่กำลังจะเกิดขึ้นหลังเทศกาล
ช่วงเวลาที่สำคัญของเทศกาลสงกรานต์ เพื่อการสร้างการเชื่อมต่อ และกระตุ้นยอดขาย
- การช้อปปิ้งออนไลน์จะมีจำนวนเพิ่
มขึ้นจนถึงขีดสุดในช่วงสองสั ปดาห์ก่อนเทศกาลสงกรานต์ โดยแบรนด์สามารถแสดงผลิตภัณฑ์ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และกำหนดเป้าหมายที่เจาะจงไปยั งกลุ่มผู้ซื้อที่มี ความสนใจในการซื้อสินค้า - การช้อปปิ้งในนาทีสุดท้าย ในช่วงสุดสัปดาห์ก่อนเทศกาล คนไทยจะตามล่าหาดีลที่ดีที่สุด โดยเฉพาะที่หน้าร้าน ธุรกิจสามารถกระตุ้นการเยี่
ยมชมหน้าร้านผ่านการใช้โฆษณาแบบ Offer Ads และ Local Awareness Ads ได้ - การเฉลิมฉลองและปาร์ตี้ ในขณะที่ผู้คนกำลังฉลองเทศกาลด้
วยการสาดน้ำ มื้ออาหารที่อร่อย และใช้เวลากับครอบครัว พวกเขายังได้แชร์ช่วงเวลาเหล่ านั้นผ่าน เฟซบุ๊ก และอินสตาแกรม แบรนด์ควรสร้างการรับรู้ด้ วยการส่งข้อความแห่งการเฉลิ มฉลอง เช่น โฆษณาในรูปแบบวิดีโอ และการนำเสนอบริการเสริมหรือข้ อเสนอในระยะเวลาที่จำกัด เป็นต้น - การกลับมาช้อปปิ้งในช่วงหลั
งเทศกาลสงกรานต์ คนไทยจะเริ่มกลับมาช้อปปิ้งผ่ านช่องทางออนไลน์อีกครั้งหลั งเทศกาล แบรนด์สามารถกำหนดเป้าหมายไปยั งกลุ่มคนที่ เคยแสดงความสนใจในผลิตภัณฑ์ ของแบรนด์ก่อนหน้านี้ด้วย Dynamic Ads
ส่วนขยาย
* บทความนี้เรียบเรียงขึ้นเพื่อการวิเคราะห์ในแง่มุมที่น่าสนใจ
** เขียน: ชลัมพ์ ศุภวาที (บรรณาธิการและผู้สื่อข่าว)
*** ขอขอบคุณภาพบางส่วนจาก www.pexels.com
สามารถกดติดตามข่าวสารและบทความทางด้านเทคโนโลยีของเราได้ที่