ธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (เอสเอ็มอี) ในประเทศไทยกำลังเริ่มดำเนินการลงทุนด้านเทคโนโลยีในระบบคลาวด์ อัพเกรดฮาร์ดแวร์ไอที และไซเบอร์ซีเคียวริตี้…
highlight
-
SMEs ไทยเร่งเครื่องปรับตัวรับ “Digital Transformation” เน้น 3 เรื่อง ได้แก่ คลาวด์ อัพเกรดฮาร์ดแวร์ไอที และไซเบอร์ซีเคียวริตี้ อย่างไรก็ดียังคงมีอุปสรรคที่ SMEs ไทย ยังต้องเผชิญ ไม่ว่าจะเป็น การขาดแคลนข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับการดำเนินงานและข้อมูลลูกค้า การขาดแคลนทักษะด้านดิจิทัล และบุคลากรที่มีทักษะด้านดิจิทัล และการขาดแคลนกระบวนการคิดที่เป็นดิจิทัล
เอสเอ็มอี ทั่ว APAC เร่งเครื่อง ทรานส์ฟอร์เมชัน
จากรายงานดัชนี “ความพร้อมทางด้านดิจิทั
โดยการสำรวจดังกล่าวเป็นผลการสำรวจความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม 1,340 ราย ในภูมิ
โดยจำแนกตามความพร้อมทางด้
ซึ่งผลสำรวจชี้ว่าองค์กรธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ของไทยได้พัฒนาสู่
ซึ่งสอดคล้องกับแนวโน้
การมีโครงสร้างพื้นฐานไอทีที่
ขณะที่เรื่องสุดท้ายที่ต้องการคือการเตรียมความพร้อมในการรับมือจากการใช้เทคโนโลยีใหม่ที่อาจมาพร้อมกับความเสี่ยงทางไซเบอร์ โดย 11.7% ของ SMEs ในไทยมองว่าการลงทุนทางด้านไซเบอร์ซีเคียวริตี้ ถือเป็น 1 ใน 3 เทคโนโลยีที่สำคัญที่สุ
ซิสโก้ จับมือ พาทเนอร์ เร่งพัฒนา SMEs ไทย
วัตสัน ถิรภัทรพงศ์ กรรมการผู้จั
ซึ่งซิสโก้ร่วมมือกับองค์กรต่างๆ เช่น สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิ
ซิสโก้ให้การสนับสนุนแก่เอสเอ็
โดยโครงการ Cisco Networking Academy ได้จัดการฝึกอบรมความรู้ให้แก่
อย่างไรก็ดี เอสเอ็มอีในไทยยังคงประสบปัญหาและอุปสรรคที่ขัดขวางการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัล หรือ ดิจิทัล ทรานส์ฟอร์เมชัน โดยผู้ตอบแบบสอบถามระบุถึงอุปสรรคสำคัญๆ เช่น การขาดแคลนข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับการดำเนินงานและข้อมูลลูกค้า (17.9%), การขาดแคลนทักษะด้านดิจิทัลและบุคลากร (15.7%)
และการขาดแคลนกระบวนการคิดที่เป็นดิจิทัล (digital mind-set) หรือความท้าทายทางด้านวัฒนธรรมภายในองค์กร (14.0%) นอกจากนี้ ผลการสำรวจยังชี้ว่า โครงการของรัฐบาลส่งผลกระทบอย่างชัดเจนต่อเอสเอ็มอีไทยในการทำดิจิทัล ทรานส์ฟอร์เมชัน
โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ (55.7%) ระบุว่าตนเองรับรู้ถึงโครงการภาครัฐที่ช่วยสนับสนุนเอสเอ็มอี และได้รับประโยชน์จากโครงการดังกล่าว ขณะที่ 32.9% รับรู้ แต่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการเหล่านั้น
ด้าน สุวรรณชัย โลหะวัฒนกุล ผู้อำนวยการ สำนักงานส่งเสริมวิ
ซึ่งการใช้ประโยชน์ของเศรษฐกิจดิจิทัล และการใช้ประโยชน์จากไอทีกับผู้ประกอบการขนาดกลาง ขนาดย่อมและขนาดจิ๋ว หรือ Micro, Small & Medium Enterprise (MSME) นั้นมีความสำคัญและค่อยๆกลายเป็นรากฐานใหม่สำหรับผู้ประกอบการในปัจจุบัน
และจะสร้างประโยชน์ด้านนวัตกรรม ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลที่นำไปสู่การเพิ่มผลผลิตและโอกาสใหม่ ๆ ในตลาด ซึ่งจะช่วยเพิ่มผู้ประกอบการรายใหม่จำนวนมากในตลาด พัฒนาความได้เปรียบในการแข่งขันและขจัดอุปสรรคทางการตลาดโดยเฉพาะจากภาค MSME ซึ่งเป็นกระดูกสันหลังของเศรษฐกิจในประเทศส่วนใหญ่
เราช่วย MSME ในการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ประโยชน์และสร้างธุรกิจใหม่โดยเสนอโปรแกรมและรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงงานระดับภูมิภาค อันที่จริงสิ่งที่ท้าทายและสำคัญที่สุดสำหรับหลาย ๆ ประเทศในอาเซียนในขณะนี้คือ “ความจำเป็นในการนำดิจิทัลไปใช้ในวิสาหกิจขนาดเล็ก
ด้วยเหตุนี้เนื่องในโอกาสการเป็นประธานอาเซียนของไทยในปี 2562 สสว.จะจัดกิจกรรมอาเซียนภายใต้หัวข้อ “การทำดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชันสำหรับผู้ประกอบการขนาดจิ๋ว (Micro Enterprises) ในภูมิภาคอาเซียน“ โดยมีจุดประสงค์ในการพัฒนาช่องทางการตลาดดิจิทัล และเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการขนาดจิ๋วในภูมิภาคอาเซียน
สรุปข้อแนะนำจาก APAC SMB Digital Maturity Index
- ดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชันเปรี
ยบเสมือนการเดินทาง ไม่ใช่การวิ่งแข่งระยะสั้น แต่เป็นการวิ่ งมาราธอนระยะทางไกล เอสเอ็มอีควรจะประเมินความพร้ อมของตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณา 4 แง่มุมหลักทางธุรกิจที่กล่าวเบื้ องต้น และให้ความสำคัญกับโครงการสำคั ญๆ เพื่อแก้ไขปัญหาช่องว่างที่เกิ ดขึ้น - ลงทุนเชิงกลยุทธ์ เอสเอ็มอีจำเป็นต้องมีกลยุทธ์
การทำดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชั นและแผนพัฒนาที่ชัดเจน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการลงทุนด้ านเทคโนโลยีเชิงกลยุทธ์ ซึ่งจะช่วยให้องค์กรสามารถแก้ ไขปัญหาท้าทายในเรื่องสำคัญๆ และใช้ประโยชน์จากโอกาสที่มีอยู่ สำหรับการขยายธุรกิจให้เติบโต - ปรับใช้ระบบงานอัตโนมัติ
และระบบดิจิทัล เอสเอ็มอีควรมองหาหนทางที่จะเพิ่ มประสิทธิภาพโดยอาศัยระบบงานอั ตโนมัติ โดยใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีที่ เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ควรจะกำหนดนโยบายเพื่อสร้ างมาตรฐานสำหรับกระบวนการต่างๆ ขณะที่องค์กรดำเนินการอย่างต่ อเนื่องเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิ ทัล ควรจะใช้ประโยชน์จากข้อมู ลและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อปรั บปรุงกระบวนการ ผลักดันการสร้างสรรค์นวัตกรรม และเพิ่มความคล่องตัว - กระตุ้นการมีส่วนร่วม การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องยาก ดังนั้นเอสเอ็มอีจึงต้องอาศั
ยการมีส่วนร่วมของพนักงานและผู้ บริหารระดับสูง โดยจะต้องเฟ้นหาผู้เชี่ยวชาญด้ านเทคโนโลยีดิจิทัลภายในองค์กร และมอบหมายให้เข้ามาดู แลการดำเนินการแต่เนิ่นๆ และควรจะใช้ประโยชน์จากบุ คลากรที่มีความเชี่ยวชาญดังกล่ าว เพื่อสร้างวัฒนธรรมของการเปลี่ ยนแปลง โดยสนับสนุนการทำงานร่วมกัน แบ่งปันเรื่องราวความสำเร็จ รวมถึงแบกรับความเสี่ยงตามที่ คาดการณ์ไว้ - ค้นหาพันธมิตรที่ไว้ใจได้ เอสเอ็มอีจำนวนมากประสบปั
ญหาในการดำเนินกลยุทธ์ดิจิทั ลทรานส์ฟอร์เมชัน ดังนั้นจึงควรมองหาพันธมิตรด้ านเทคโนโลยีที่มีประสบการณ์ สามารถให้บริการคำปรึ กษาและการจัดการโครงการ นอกเหนือไปจากความรู้ด้ านเทคโนโลยี และควรมองหาพันธมิตรที่มี ประสบการณ์ในการทำงานร่วมกั บเอสเอ็มอีและอีโคซิสเต็มส์ ของเอสเอ็มอี
อย่างไรก็ดีจาก ความพร้อมทางด้านดิจิทั
ส่วนขยาย
* บทความนี้เรียบเรียงขึ้นเพื่อการวิเคราะห์ในแง่มุมที่น่าสนใจ
** เขียน: ชลัมพ์ ศุภวาที (บรรณาธิการและผู้สื่อข่าว)
*** ขอขอบคุณภาพบางส่วนจาก www.pexels.com
สามารถกดติดตามข่าวสารและบทความทางด้านเทคโนโลยีของเราได้ที่