ยอดคนเหงาไทยทะลุ 26.75 ล้านคน ชี้ “วัยรุ่น คนทำงาน” ครองแชมป์ตลาดจอมเหงาไทย คาดช่วยเร่งธุรกิจคนเหงาก้าวสู่ตลาดใหม่ (Blue Ocean) ที่ควรลงทุน และเร่งพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อศึกษาพฤติกรรมด้วยเทคโนโลยีวิเคราะห์ข้อมูล ร่วมถึงแสวงหาโอกาสในการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ…
highlight
- ตลาดคนเหงาในประเทศไทย มีจำนวนสูงกว่า 26.75 ล้านคน โดยกลุ่มผู้บริโภคเหล่านี้มักเลือกใช้ 3 กิจกรรมจัดการความเหงา ได้แก่ โซเชียลมีเดีย เข้าร้านอาหารหรือคาเฟ่ และการช้อปปิ้ง ซึ่งธุรกิจจะสามารถคว้าโอกาส และกำหนดกลยุทธ์ ในการตลาดได้อย่างแม่นยำได้มากขึ้น ได้ด้วยเทคโนโลยีที่หลากหลาย เพื่อใ้สามารถ “เข้าถึง” และ “สร้างผลกระทบ” ต่อตัวผู้บริโภค
“โลนลี่มาร์เก็ต” ตลาด Blue Ocean ใหม่ของไทย
ผลการสำรวจซีเอ็มเอ็มยู (CMMU) ชี้ “การตลาดคนเหงา” เทรนด์มาร์เก็ตติ้งที่ได้รั
จากงานวิจัยพบว่า ปัจจุบันตั
ได้แก่ โซเชียลมีเดีย เข้าร้านอาหารหรือคาเฟ่ และการช้อปปิ้ง ในขณะที่วัยกลางคน และผู้สูงอายุ มีระดับความเหงาที่น้อยกว่า เนื่องจากมีความพร้อมด้านการจั
โดยคาดว่าการขยายตั
- ธุรกิจคอมมิวนิตี้ อาทิ ร้านอาหาร คาเฟ่ บอร์ดเกมส์ ฯลฯ
- ธุรกิจอสังหาฯ และโค สเปซ
- ธุรกิจดิจิทัล อาทิ แอปพลิเคชัน ออนไลน์แพลตฟอร์ม เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ธุรกิจสัตว์เลี้ยง
- ธุรกิจท่องเที่ยว
4 กลยุทธ์ ช่วยปั้นธุรกิจให้แตกต่าง ตอบรับอินไซท์ “กลุ่ มคนเหงา”
ดร.บุญยิ่ง คงอาชาภัทร หัวหน้าสาขาการตลาด วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดเผยว่า การสื่อสารของปัจจุบัน ถูกเปลี่ยนผ่านจากการปฏิสัมพั
แต่สิ่งหนึ่งที่หลีกเลี่ยงไม่
ได้รับการจัดอันดับเทรนด์มาร์
ผลสำรวจภาวะความเหงาของประชากรใ
พบว่า 40.4% หรือราว 1 ใน 3 ของกลุ่
ในขณะที่กลุ่มผู้สูงวัยอายุ
ความเหงา เป็นภาวะทางอารมณ์ ที่เกิดขึ้นได้กับทุกคน สาเหตุมาจากการเผชิญสถานการณ์
โดยจากข้อมูลงานวิจัยพบว่า 3 พฤติกรรมที่จัดการความเหงาที่ผู้
ซึ่งหนึ่งกิจกรรมที่มอบความสุขให้กั
ขณะที่การทำการตลาดตอบโจทย์กลุ่
เพื่อรองรับความต้องการผู้บริโภคที่
- สร้างบรรยากาศรอบตัว (C: Circumstance) ธรรมชาติความต้องการของกลุ่มคนเหงา มักต้องการผู้ที่เข้าใจ และไม่อยากรู้สึกว่าอยู่เดียวดาย นักการตลาดจึงควรเข้าใจความสัมพันธ์ ระหว่างความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และดึงจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ และบริการแบรนด์ตนเอง อาทิ ธุรกิจร้านค้า ร้านอาหาร ต้องรู้จักใช้ข้อได้เปรียบด้านพื้นที่ ธุรกิจท่องเที่ยว ต้องพัฒนาบริการที่ตอบโจทย์กลุ่มคนเหงาเพิ่มขึ้น เป็นต้น
- สื่อสารเหมือนเพื่อน (M: coMpanion) จากสถิติพบว่า ร้อยละ 44.3 ของกลุ่มผู้มีภาวะความเหงา มักจะติดการใช้โซเชียลมีเดียตลอดทั้งวัน เพื่อให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพ และตรงกับกลุ่มเป้าหมายมากที่สุด การทำการตลาดจึงควรเลือกสื่อสาร โปรโมท หรือสร้างกิจกรรมปฏิสัมพันธ์ กับกลุ่มเป้าหมายผ่านสื่อโซเชียลมีเดีย รวมถึงต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการสื่อสารที่เป็นมิตร เสมือนเพื่อนที่คอยให้คำปรึกษา และไขข้อสงสัยผลิตภัณฑ์และบริการได้ตลอดเวลา
- ไม่ลืมกลุ่มคนเหงา (M: forget Me not) นักการตลาดต้องไม่ลืมการส่งเสริมการตลาดพิเศษ รองรับกลุ่มคนเหงา อาทิ โปรโมชั่นพิเศษช่วงฤดูกาล หรือเทศกาล เป็นต้น โดยนอกจากจะสามารถขยายฐานลูกค้าได้แล้ว ยังทำให้กลุ่มเป้าหมายรู้สึกไม่ถูกทอดทิ้ง และเป็นหนึ่งเดียวกันกับแบรนด์สินค้าในทุกโอกาส
- ส่งเสริมกิจกรรมร่วม (U: commUnity) นักการตลาดต้องสามารถสร้างสรรค์คอนเทนท์ ผลิตภัณฑ์ บริการ หรือกิจกรรมการตลาด ที่แตกต่างจากท้องตลาดเดียวกัน โดยเน้นให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการปฏิสัมพันธ์ และจับกลุ่มรวมตัวขึ้นอย่างสม่ำเสมอ จนเกิดเป็นชุมชนพิเศษอันนำไปสู่การบอกต่อในวงสังคมในระยะยาว
ปัจจุบันมีนักการตลาดในต่
ในสหรัฐฯ ธุรกิจเช่าครอบครัว หรือเพื่อนเสมือน ในประเทศญี่ปุ่น และเกาหลี หรือธุรกิจคาเฟ่สัตว์เลี้ยง ที่ได้รับความนิยมในประเทศไทย เป็นต้น โดยคาดว่าการขยายตั
ด้าน เจษฎาภรณ์ สารพัฒน์ หัวหน้าทีมวิจัยการตลาดกลุ่
โดยปัจจุบัน กลุ่มเจนซีกำลังเปลี่ยนผ่
ได้แก่ กิจกรรมที่ได้พบปะสังสรรค์
ใช้เทคโนโลยีเสริมความแกร่ง และคว้าโอกาส
จากข้อมูลดังกล่าว ธุรกิจจะสามารถคว้าโอกาส และกำหนดกลยุทธ์ ในการตลาดได้อย่างแม่นยำได้มากขึ้น ได้ด้วยเทคโนโลยีที่หลากหลาย เพื่อใ้สามารถ “เข้าถึง” และ “สร้างผลกระทบ” ต่อตัวผู้บริโภค ซึ่งเราสามารถใช้ เทคโนโลยีอย่าง การค้นหาด้วยภาพ และเสียง (Voice & Visual Search) มาแทนที่การพิมพ์ข้อความค้นหา
เนื่องจากไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไป ทุกคนต้องการความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเทคโนโลยี Voice Personal Assistant (VPA) เช่น Alexa, Google Assistant, Bixby, Cortana และ Siri เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถสั่งการจากอุปกรณ์เพื่อให้ช่วยค้นหาข้อมูลตามความต้องการได้ทันที
หรือการใช้แพลตฟอร์มที่ใช้โต้ตอบสนทนากับผู้บริโภค (Conversational Platform) หรือที่เรารู้จักในรูปแบบของ “แชทบอท” (Chatbot) ซึ่งตัวระบบรูปแบบนี้จะช่วยลูกค้าเปิดใจ ผู้ให้บริการสามารถเก็บข้อมูลจากลูกค้าได้มากกว่าการสนทนาผ่านช่องทางอื่น ๆ
และช่วยให้เกิดการสื่อสารระหว่างผู้ให้บริการ และผู้บริโภคภายใต้กรอบที่กำหนด เช่น ข้อมูลสินค้า การส่งของ หรือบริการหลังการขาย เป็นต้น และแน่นอนว่าสิ่งที่เราต้องคำนึง และเตรียมรับมือ คือการเตรียมพร้อมรับมือ กับปริมาณข้อมูลที่จะเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาลด้วย
โดยธุรกิจจำเป็นต้องเตรียมปรับใช้ แพลตฟอร์มทางด้านการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) เพื่อรองรับข้อมูลที่จะมาจากทั้งทาง โซเชียล ข้อมูลภายใน ข้อมูลจากช่องทาง มาประมวลหาข้อมูลความต้องการที่แท้จริงของผู้บริโภค และนำไปวิเคราะห์เพื่อกำหนดวางกลยุทธ์ทางการตลาด หรือแม้แต่นำไปสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ได้อีกด้วย
ซึ่งในปัจจุบันนี้ก็มีผู้ให้บริการหลากหลาย ได้แก่ Amazon Redshift, BigQuery ของ Google , IBM Bluemix และ Microsoft Azure ซึ่งนอกจากจะให้บริการด้านแพลตฟอร์มแล้ว ยังให้บริการเครื่องมือสำหรับใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่อีกด้วย
โดยมีข้อดีของการใช้บริการบน Cloud คือ ง่ายต่อการใช้งานและสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพของแพลตฟอร์มให้เหมาะสมกับปริมาณงาน (Scalability) นอกจากนี้ ค่าใช้จ่ายการเพิ่มจำนวน Virtual Machine ยังถูกกว่าการที่จะต้องซื้ออุปกรณ์ฮาร์แวร์ต่าง ๆ อีกด้วย
ส่วนขยาย
* บทความนี้เรียบเรียงขึ้นเพื่อการวิเคราะห์ในแง่มุมที่น่าสนใจ
** เขียน: ชลัมพ์ ศุภวาที (บรรณาธิการและผู้สื่อข่าว)
*** ขอขอบคุณภาพบางส่วนจาก www.pexels.com
สามารถกดติดตามข่าวสารและบทความทางด้านเทคโนโลยีของเราได้ที่