8 เทคโนโลยีสำคัญที่จะช่วยให้บริษัทในอุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่ม รักษาขีดความสามารถด้านการแข่งขันในตลาดที่เต็มไปด้วยคู่แข่ง…
highlight
- เพื่อให้ประเทศไทยสามารถแข่งขันได้ดีขึ้น และยังคงความเป็นผู้นำในตลาดนี้ ผู้ประกบธุรกิจจำเป็นต้องเร่งปรับตัวทั้งกระบวนการด้วยการใช้เทคโนโลยี เข้ามาเสริมเพื่อลบข้อจำกัดแบบเก่า ๆ ออกไป และเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต กระบวนการดำเนินงานของธุรกิจ ด้วย 8 เทคโนโลยี ได้แก่ ERP, CRM, HCM, IoT, PLM, Warehouse Management, Supply Chain Management และCloud Computing
แนวโน้มการส่งออกสินค้าอาหาร และเคร่ืองดื่มพบไทยชะลอตัว
อย่างที่ทราบกันกีว่าอุตสาหกรรมอาหารนั่นถือเป็นอุตสาหกรรมที่สร้างรายได้ให้ประเทศไทย และจัดอยู่ในอันดับต้น ๆ ของธุรกิจที่สำคัญ แต่จากการเปิดเผยโดยธนาคารออมสินที่ (GSB) ได้ทำการสำรวจ Food Industry and Drinks ในช่วงต้นปีที่ผ่านมา
พบว่ามีอัตราการเติบโตชะลอตัวอยู่ที่ร้อยละ 3.14 และ 0.88 (%yoy) ตามลำดับ โดยมีปัจจัยที่สนับสนุนให้อุตสาหกรรมยังคงเติบโตได้ ได้แก่ ความต้องการสินค้าปศุสัตว์แปรรูป โดยเฉพาะสินค้าไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง และไก่แปรรูปจากประเทศคู่ค้าหลัก (ญี่ปุ่น เนเธอร์แลนด์ และเกาหลีใต้) ที่ยังคงอยู่ในเกณฑ์ดี
ขณะที่เทรนด์การดูแลรักษาสุขภาพของผู้คนในยุคปัจจุบัน โดยหันมาเลือกบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ส่วนสินค้าผลิตภัณฑ์อาหารของไทยที่ได้รับผลบวกจากสงครามการค้าระหว่าง สหรัฐฯ และจีน อาทิสินค้ากลุ่มผลไม้สด และผลไม้แปรรูป รวมถึงอาหารแปรรูป และอาหารทะเลแปรรูป อาหารทะเลปรุงแต่ง
อย่างไรก็ดี การที่ สหรัฐฯ ได้ปรับระดับสถานะเรื่องสถานการณ์การค้ามนุษย์ของไทยมาอยู่ที่ระดับ Tier 2 ทำให้ภาพลักษณ์สินค้าประมงไทยปรับตัวดีขึ้น และนโยบายสนับสนุน และส่งเสริมจากภาครัฐที่มีส่วนช่วยต่อการเติบโตของอุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่มของไทย แม้ว่าภาพรวมจะไม่เติบโต และไม่ได้แย่
แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าผู้ที่อยู่ในอุตสาหกรรมจะสามารถนิ่งนอนใจได้ เพราะในเวทีการแข่งขันโลก ย่อมมีคู่แข่งที่ทัดเทียมกันโดยฌฉพาะประเทศที่อยู่ในภูมิภาคเดียวกัน ที่เริ่มมีอัตตราการส่งออกขยับใกล้ประเทศมากขึ้น อาทิ อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส, อินโดนีเซีย, อินเดีย และเวียดนาม
8 เทคโนโลยีที่อุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่มต้องใส่ใจ
ซึ่งแม้ว่าหลายประเทศจะโดดเด่นในด้านของการส่งออกทางสินค้าที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี แต่การส่งออกสินค้าจำพวกอาหาร และเครื่องดื่มเองก็เริ่มมีแนวโน้มที่ดีขึ้น ดังนั้นเพื่อให้ประเทศไทยสามารถแข่งขันได้ดีขึ้น และยังคงความเป็นผู้นำในตลาดนี้ ผู้ประกบธุรกิจจำเป็นต้องเร่งปรับตัวทั้งกระบวนการ
ด้วยการใช้เทคโนโลยี เข้ามาเสริมเพื่อลบข้อจำกัดแบบเก่า ๆ ออกไป และเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต กระบวนการดำเนินงานของธุรกิจ ซึ่งต่อไปนี้คือเทคโนโลยีที่ผู้ที่ประกอบธุรกิจอาหาร และเครื่องดื่มจำเป็นต้องใช้ เพื่อเตรียมความพร้อม ได้แก่
โซลูชั่น ERP ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้กับอุ ตสาหกรรมโดยเฉพาะ
ธุรกิจส่วนใหญ่ที่มีการเจริญเติบโตอย่างเต็มที่ จะมีโซลูชั่นที่ใช้ในการวางแผนทรัพยากรขององค์กรอยู่แล้ว อย่างไรก็ตามธุรกิจขนาดใหญ่กว่ามักจะใช้ซอฟต์แวร์ที่ล้าสมัยที่ได้รับการปรับปรุงเป็นส่วน ๆ (Patch) และแอปพลิเคชั่นที่ไม่มีประสิทธิภาพ
ในขณะที่สตาร์ทอัพมักชอบใช้โซลูชั่นทางบัญชีแบบทั่ว ๆ ไป ที่ให้ความสำคัญกับระบบลูกหนี้ เจ้าหนี้ และระบบสินค้าคงคลังเท่านั้น โดยในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา โซลูชั่นด้านการวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กร (Enterprise Resource Planning หรือ ERP) ที่ทันสมัยมีความก้าวหน้าสำคัญหลายประการด้วยเทคโนโลยีที่มีอิทธิพล
ในการสร้างความเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ต่างๆ ขยายขีดความสามารถของ ERP ไปครอบคลุมถึงเครื่องมือในการวางแผน การคาดการณ์ และการวิเคราะห์ นอกจากนี้ยังมีโซลูชั่นเฉพาะทางที่เจาะจงไปยังแต่ละอุตสาหกรรรม ซึ่งมีคุณสมบัติ
และคุณประโยชน์ต่าง ๆ ติดตั้งมาพร้อม ช่วยให้ลูกค้าไม่ต้องทำการปรับแต่งโค้ดให้ยุ่งยาก และช่วยเพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการปรับปรุงระบบ โซลูชั่นเหล่านี้ยังช่วยเพิ่มความคล่องตัวในการดำเนินงาน และให้ข้อมูลเชิงลึกที่ได้จากระบบวิเคราะห์ข้อมูลที่มีอยู่ในโซลูชั่นนั้น ๆ
การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
เชื่อว่าทุกคนทราบดีว่าความสัมพันธ์กั
บริษัท และคู่แข่งขององค์กรนั้น ๆ ล้วนต้องมองหาแนวทางที่จะใช้เพื่
หรือการวางแผนโปรโมชั่นให้สอดรั
การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล
ความแข็งแกร่งของบริษัทขึ้นอยู่
ซึ่
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันซึ่
การบริหารจัดการสินทรัพย์องค์กร และ อินเตอร์เน็ตออฟธิงค์ (IoT)
โซลูชั่นเพื่อจัดการวงจรชีวิ
เซ็นเซอร์ที่ติดตั้งไว้ในเครื่
การจัดการวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (Product Lifecycle Management หรือ PLM)
ผู้บริโภคในปัจจุบันคาดหวั
ซึ่งนั่นหมายความว่าองค์กรธุรกิ
โซลูชั่นการจัดการคลังสินค้า (Warehouse Management หรือ WM)
เมื่อธุรกิจเติบโตอย่างต่อเนื่
ระบบการจัดการคลังสินค้าที่ทั
การจัดการซัพพลายเชน (Supply Chain Management หรือ SCM)
บริษัทด้านอาหาร และเครื่องดื่
เพื่อให้แน่ใจว่าวัตถุดิบที่ได้
การใช้ระบบคลาวด์ (Cloud Computing)
การติดตั้งใช้งานระบบคลาวด์มั
ส่วนขยาย * บทความเรื่องนี้น่าจะเป็นประโยชน์สำหรับการวิเคราะห์ในมุมมองที่น่าสนใจ ** เขียน: ชลัมพ์ ศุภวาที (บรรณาธิการ และผู้สื่อข่าว) *** ขอขอบคุณภาพประกอบบางส่วนจาก www.pexels.com **** ขอขอบคุณข้อมูลจาก วัลลภา เปี่ยมนพเก้า ผู้อำนวยการประจำประเทศไทยและตลาดเกิดใหม่ อินฟอร์
สามารถกดติดตามข่าวสารและบทความทางด้านเทคโนโลยีของเราได้ที่