ผลสำรวจ เผย นักลงทุนในเอเชียแปซิฟิก เห็นตรงกัน ผู้นำองค์กรไม่ถึง 2 ใน 10 มี Skill ที่จำเป็นมากพอที่จะนำองค์กรให้รับมือกับความท้าทายในอนาคต…
highlight
- นักลงทุนราว 2 ใน 3 ระบุว่าผู้นำองค์กรธุรกิ
จเอกชนในปัจจุบันยัง “ไม่มีคุณสมบัติที่ดีพอ” ขณะที่มีผู้บริหารเพียง 15% เท่านั้น ที่มีคุณสมบัติของผู้นำที่ดีเยี่ ยมสำหรับโลกธุรกิจที่ผันผวนอย่ างรวดเร็ว ซึ่งผู้นำที่ปรับตัวทันต่อการเปลี่ ยนแปลงยังต้องมีทักษะที่จำเป็ นสำหรับอนาคตในด้านต่าง ๆ อีกด้วย นั่นคือ ADAPT อันได้แก่ การคาดการณ์ (Anticipate), การขับเคลื่อน (Drive), การกระตุ้น (Accelerate), พันธมิตร (Partner) และความเชื่อมั่น (Trust)
ผู้นำองค์กรทั่วโลก ไม่ถึง 2 ใน 10 ที่มี Skill ที่จำเป็น
เมื่อไม่นานมานี้มีการเผยผลการศึกษาเรื่อง “ผู้นำที่ปรับตัวทันต่อการเปลี่
โดยจากผลการวิเคราะห์บ่งชี้ว่า นักลงทุ
และนักลงทุนกว่า 83% อ้างว่า ผู้บริหารระดับสูงที่มี
โดยนักลงทุนราว 2 ใน 3 หรือ 66% ให้ความเห็นว่า พวกเขาให้คุณค่ากับวิสัยทัศน์
และจากข้อมูลการให้เหตุผลเพิ่มเติ
สัดส่วนของผู้นำที่ปรับตัวทันต่ อการเปลี่ยนแปลงในตลาดแต่ละแห่ง
ข้อมูลแสดงให้เห็นว่า ผู้นำส่วนใหญ่ยังไม่มี
ดร. มานะ โลหะเทพานนท์ กรรมการผู้จัดการ คอร์น เฟอร์รี่ ประเทศไทย กล่าวว่า บริษัทต่าง ๆ ล้วนมีบทบาทสำคัญอย่
และสร้างวัฒนธรรมที่ส่งเสริมพนั
ต่อการเปลี่
ด้าน เดนนิส บัลซ์ลีย์ นักปฏิบัติงานฝ่าย Global Solution Leader For Leadership Development ของคอร์น เฟอร์รี่ และผู้ร่วมผลิตเอกสารรายงานฉบั
และการปิดช่องโหว่ให้สมบูรณ์ คือหลักการของภาวะผู้นำทางธุรกิ
ในด้านเทคโนโลยี โลกาภิวัฒน์ ประชากร และพฤติกรรมผู้บริโภคในปัจจุบัน กำลังเผยให้เห็นถึงข้อจำกั
ดร. มานะ โลหะเทพานนท์ กล่าวเสริมว่าในขณะที่เรากำลังก้าวสู่ยุคแห่
จึงถือเป็นกุญแจสำคัญสู่
ข้อมูลเปรียบเทียบของตลาดต่าง ๆ ในเอเชียแปซิฟิก
- ฮ่องกง สิงคโปร์ และอินเดีย มีสัดส่วนผู้นำที่ปรับตัวทันต่อการเปลี่ยนแปลงสูงสุด โดยมีสัดส่วนสูงสุดทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก ด้วยสัดส่วนผู้นำที่พร้อมสำหรับอนาคตสูงถึง 17% ซึ่งล้วนเป็นผู้ที่มีทักษะในด้าน ADAPT ที่จำเป็นต่อความสำเร็จในช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่
- นักลงทุนในเอเชียแปซิฟิกรู้สึกวิตกกังวลเกี่ยวกับการขาดแคลนผู้นำที่พร้อมสำหรับอนาคต มากที่สุดคือที่ประเทศจีน โดยนักลงทุนกว่า 82% กล่าวว่าผู้นำที่มีแนวคิดแบบเก่านั้นไม่เหมาะสมกับโลกอนาคต เช่นเดียวกับนักลงทุนในญี่ปุ่นที่วิตกกังวลมากไม่ต่างกัน (80%) ขณะเดียวกัน นักลงทุนในฮ่องกงและสิงคโปร์วิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะผู้นำในปัจจุบันน้อยที่สุด โดยราวครึ่งหนึ่งกล่าวว่า ผู้นำยังไม่พร้อมสำหรับอนาคต (54% และ 51% ตามลำดับ)
- นักลงทุนทั่วเอเชียแปซิฟิกเห็นว่า ผู้ที่มีความสามารถถือเป็นปัจจัยสำคัญเบื้องต้น โดยเฉพาะในออสเตรเลีย ซึ่งนักลงทุนกว่า 92% กล่าวว่า ซีอีโอมีความสำคัญอย่างยิ่งในการที่บริษัทจะตัดสินใจลงทุน ส่วนนักลงทุนชาวจีนพิจารณาถึงปัจจัยนี้น้อยที่สุดในภูมิภาค โดยมี 70% ระบุว่าซีอีโอมีความสำคัญมาก
- นักลงทุนในเอเชียแปซิฟิกมีความตระหนักร่วมกันเกือบเป็นเอกฉันท์ถึงความเร่งด่วนของสถานการณ์นี้ โดยนักลงทุนส่วนใหญ่ทั้งในจีน (96%) อินโดนีเซีย (91%) สิงคโปร์ (91%) และอินเดีย (90%) เชื่อว่าองค์กรต่าง ๆ กำลังเผชิญหน้ากับความท้าทายเพื่อการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่
- ความต้องการผู้นำที่พร้อมสำหรับอนาคตแทบจะเป็นเรื่องเร่งด่วนสำหรับตลาดบางแห่ง โดยนักลงทุนในฮ่องกง (66%) และสิงคโปร์ (69%) มากกว่า 2 ใน 3 ให้คุณค่ากับวิสัยทัศน์และการเดินหน้าสู่เป้าหมายแห่งอนาคตมากกว่าประสิทธิภาพการทำงานในอดีต โดยมากที่สุดคือญี่ปุ่น (78%) มีเพียงอินโดนีเซียที่ต้านกระแสและเป็นตลาดแห่งเดียวในภูมิภาคที่นักลงทุนน้อยกว่าครึ่ง (46%) ให้คุณค่ากับวิสัยทัศน์มากกว่าประสิทธิภาพการทำงานในอดีต
- นักลงทุนทั่วเอเชียแปซิฟิกตระหนักว่า ความจำเป็นในการเปลี่ยนแปลงจะยิ่งเพิ่มความต้องการผู้นำที่มีประสิทธิภาพในอนาคตอันใกล้ โดยนักลงทุนในมาเลเซียเน้นย้ำเรื่องนี้มากที่สุด กว่า 77% กล่าวว่าความจำเป็นในการเปลี่ยนแปลงจะทำให้ภาวะผู้นำทวีความสำคัญต่อประสิทธิภาพการทำงานของบริษัทในช่วง 3 ปีข้างหน้า ตามมาด้วยออสเตรเลียซึ่งมีนักลงทุนมากเป็นอันดับ 2 (76%) ที่เน้นย้ำเรื่องนี้ กระนั้น ในภูมิภาคนี้ยังมีตลาดบางแห่งที่สงสัยต่อแนวคิดนี้ โดยนักลงทุนในอินเดียและอินโดนีเซียตระหนักถึงความสำคัญของภาวะผู้นำน้อยที่สุด โดยมีมากกว่าครึ่งเพียงเล็กน้อย (54%) ที่กล่าวว่าเรื่องนี้มีความสำคัญ
ส่วนขยาย
* บทความนี้เรียบเรียงขึ้นเพื่อการวิเคราะห์ในแง่มุมที่น่าสนใจ
** เขียน: ชลัมพ์ ศุภวาที (บรรณาธิการและผู้สื่อข่าว)
*** ขอขอบคุณภาพบางส่วนจาก www.pexels.com
สามารถกดติดตามข่าวสารและบทความทางด้านเทคโนโลยีของเราได้ที่