กระแสการใช้เงินดิจิทัลบนสมาร์ทโฟน (Mobile Money Wallet) บูม!! แล้วธุรกิจของคุณพร้อมหรือยัง เพื่อรับมือดิจิทัลไลฟ์สไตล์ ของนักท่องเที่ยวที่ต้องการที่มากขึ้น…
highlight
- ในอีก 3 ปีข้างหน้า (ปี 2565) ยอดนักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางไปต่างประเทศ โดยคาดว่าจะสูงถึง 178.4 ล้านคน โดยมียอดใช้จ่ายต่อปีจะอยู่ที่ประมาณ 5.5 ล้านล้านบาท โดยนักท่องเที่ยวจีนราว 35% ชอบซื้อสินค้าแบรนด์ที่เป็นที่รู้จัก ขณะที่ 62% ชอบซื้อสินค้าที่หาไม่ได้ในประเทศจีน
4 แนวแทางใช้ Mobile Money Wallet รับมือนักท่องเที่ยวยุคใหม่ (โดยเฉพาะชาวจีน)
จากการสำรวจโดย “อาลีเพย์“ (Alipay) ที่ได้เปิดเผยพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวจีน พบว่า จำนวนนักท่องเที่ยวจีนที่เพิ่
โดยคาดว่าจะสูงถึง 178.4 ล้านคน โดยมียอดใช้จ่ายต่อปีจะอยู่ที่
ทั้งนี้ ในช่วงเดือนสิงหาคม 2562 นักท่องเที่ยวชาวจีนเดินทางมายั
ยอดใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว เช่น โรงแรม ความบันเทิง ช้อปปิ้ง และการรับประทานอาหารในไทยเพิ่
และกระทรวงการท่
ซึ่ง “อาลีเพย์” ได้แนะ 4 แนวทางที่ได้ผลที่ทาง เพื่อให้ธุรกิจไทยเตรียมพร้อมรับมือได้ทัน สามารถสร้างรายได้
พลิกโฉมประสบการณ์ค้าปลีกรูปแบบเดิม
ท่ามกลางสภาวะการแข่งขันแบบออนไลน์และออฟไลน์ที่รุนแรงมากขึ้น “ธุรกิจรูปแบบเดิม” ไม่ใช่แนวทางที่ใช้ได้ดีอีกต่อไปสำหรับผู้ค้าปลีก อย่างไรก็ตาม ความท้าทายย่อมมาพร้อมกับโอกาสใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มีรายได้สูงจากจีน
ผู้ค้าปลีกจำนวนมากเริ่มสร้างประสบการณ์ช้อปปิ้งที่ตอบโจทย์ความต้องการที่เฉพาะเจาะจงของนักท่องเที่ยวจีนที่มีฐานะร่ำรวย นอกจากนั้น ผู้ค้าปลีกบางรายยังพยายามศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสิ่งที่นักท่องเที่ยวจีนต้องการ รวมถึงวัฒนธรรมประเพณี พฤติกรรม ความคุ้นชิน หรือสิ่งที่นักท่องเที่ยวจีนอ่อนไหวเป็นพิเศษ
ตัวอย่างเช่น นักท่องเที่ยวจีนราว 35% ชอบซื้อสินค้าแบรนด์ที่เป็นที่รู้จัก ขณะที่ 62% ชอบซื้อสินค้าที่หาไม่ได้ในประเทศจีน ตามผลการสำรวจของบริษัทที่ปรึกษา McKinsey & Company ระบุว่าการรับรู้ถึงแบบแผนการใช้จ่ายดั
ปรับใช้รูปแบบของระบบชำระเงินให้สามารถรองรับการชำระผ่านมือถือ
ชาวจีนจำนวนมากปรับเปลี่ยนสู่
เพิ่มจาก 28% ในปีก่อนหน้า และนับเป็นครั้งแรกที่ตัวเลขดั
ซึ่งสอดคล้องกับผลสำรวจของ นีลเส็น (Nielsen) ที่ระบุว่า นักท่องเที่ยวจีนกว่า 93% เต็มใจที่จะซื้อสินค้า และบริการโดยใช้โทรศัพท์มือถือมากกว่า และจะเพิ่มยอดใช้จ่ายหากมีบริการรับชำระเงินผ่านมือถือ โดยปัจจุบันร้านค้าปลีกทั่วไปเริ่มที่จะปรับเปลี่ยนรูปแบบการค้าสู่ดิจิทัลเพิ่มมากขึ้น
โดยมีการปรับใช้ธุรกรรมผ่านมือถือสำหรับการดำเนินงานและการตลาด เช่น ร้านค้าปลีกในตลาดไนท์มาร์เก็ต บริษัทรถเช่า ศูนย์อาหาร และอื่น ๆ นอกจากนั้น ประสบการณ์ที่ลูกค้าได้รับยังครอบคลุมส่วนอื่นๆ นอกเหนือจากเรื่องของการชำระเงิน สำหรับในประเทศไทย ปัจจุบันมีโรงแรม 17 แห่งในเครือ แมริออท อินเตอร์เนชั่นแนล
และโรงแรม 14 แห่ง ในเครือไมเนอร์กรุ๊ป ร่วมมือกับอาลีเพย์เพื่อนำเสนอบริการ “Hotel Pre-authorization” สำหรับนักท่องเที่ยวจีนที่เข้าพักในโรงแรม โดยมีการกันวงเงินสำหรับค่าโรงแรมระหว่างเข้าพักเพื่อเพิ่มความสะดวกให้แก่นักท่องเที่ยวชาวจีนมากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ผู้ที่ใช้ แอพพลิเคชั่นอาลีเพย์ จะกันวงเงินในบัญชี
ชั่วคราวเพื่อยืนยั
เกาะกระแสนักท่องเที่ยวกลุ่ม “ผู้สูงวัย”
นอกจากนี้ ผู้ประกอบการยังสามารถสร้
โดยเมื่อไม่นานมานี้ นักวิจัยจาก Guilin Tourism University ประเมินว่าตลาดการท่องเที่
นักท่องเที่ยวที่เกษียณอายุแล้
ดังนั้น ผู้ค้าปลีกในภูมิภาคนี้จึงมี
เนื่องจาก การเดินทางไปยังต่
และลงทุนในเทคโนโลยีและแพลตฟอร์มที่เหมาะสม เพื่อรองรับการทำธุรกรรมอย่างไร้รอยต่อเหมือนกับประสบการณ์ที่ชาวจีนได้รับในประเทศของตนเอง ซึ่ง แนวทางดังกล่าวจะช่วยให้ผู้ประกอบการของไทยได้รับประโยชน์จากโอกาสที่เกิดขึ้นจากนักท่องเที่ยวจีน และเริ่มพัฒนาไปสู่การให้บริการไลฟ์สไตล์ดิจิทัลสำหรับลูกค้าทุกราย
ดังเช่นที่ประเทศไทยมุ่งมั่นผลักดันการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัล หรือดิจิทัลทรานส์ฟอเมร์ชั่นอยู่ในขณะนี้ โดยผลสำรวจที่ทาง Krungsri SME Index ในไตรมาส 1/2562 ของธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ได้เปิดเผยล่าสุด ชี้ว่า ผู้ประกอบการขนาดเล็กทั่วประเทศ ส่วนใหญ่ 53% เลือกชำระด้วยเช็ค
เนื่องจากคู่ค้ายังไม่มีการใช้ระบบการชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ และไม่มั่นใจด้านความปลอดภัยของระบบและข้อมูลของการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนรูปแบบการชำระเงินในลำดับรองมาคือการชำระผ่าน Internet Banking (19%) การชำระด้วยเงินสด (15%) และการจ่ายผ่านโมบายแบงก์กิ้ง (8%)
ซึ่งหากมองในแง่ของโอกาสในการเติบโตการที่ธุรกิจสามารถพัฒนาตัวเองได้ด้วยเทคโนโลยีการชำระเงินอันสมัยยอมหมายถึงโอกาสที่จะ สร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุนจากต่างชาติอีกด้วย เนื่องจากผลสำรวจ Doing Business 2016 ของ ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะ และวิวัฒนาการ (World Bank) จากจำนวน 189 ประเทศ
ในเรื่องของประเทศที่ง่ายต่อการเข้าไปทำธุรกิจ (Ease of Doing Business) หากเทียบกับผลสำรวจปีที่แล้วโดยภาพรวมประเทศสมาชิกในอาเซียนมีทั้งที่คงเดิม คือ สิงคโปร์ที่ยังคงรักษาแชมป์เป็นที่หนึ่ง และมาเลเซียเป็นอันดับ 2 ของอาเซียน และรักษาลำดับ 18 ของประเทศทั้งหมด ซึ่งที่ลำดับลดลง คือ ประเทศไทย จากเดิมลำดับ 26 ลดมาเป็นลำดับที่ 49 แต่ยังคงเป็นลำดับที่สามของประเทศในกลุ่มอาเซียน
ส่วนขยาย
* บทความเรื่องนี้น่าจะเป็นประโยชน์สำหรับการวิเคราะห์ในมุมมองที่น่าสนใจ
** เขียน : ชลัมพ์ ศุภวาที (บรรณาธิการ และผู้สื่อข่าว)
*** ขอขอบคุณภาพประกอบ และข้อมูลบางส่วนจาก : -
สามารถกดติดตามข่าวสารและบทความทางด้านเทคโนโลยีของเราได้ที่ eleaderfanpage