ธุรกิจประกันรถยนต์ ลุยทำธุรกิจแบบ Mirco Segment ด้วยเทคโนโลยี IoT หวังเจาะกลุ่มคนขับน้อย ชูจุดเด่น “เปิดเมื่อขับ ปิดเมื่อจอด” แบบอัตโนมัต และจ่ายเท่าที่ใช้ (Pay Per Use)…
highlight
- ประกันภัยไทยวิวัฒน์ นำโซลูชัน NB-IoT Motor Tracker เข้ามาเสริมขีดความสามารถให้กับธุรกิจประกันภัยรถยนต์ ช่วยให้ลูกค้าได้รับความคุ้มครองครบถ้วน และจ่ายค่าเบี้ยประกันตามการใช้งานจริง (Pay As You Drive)
ไทยวิวัฒน์ เดินเกมเปลี่ยนธุรกิจประกันรถยนต์ด้วย IoT
ประกันภัยไทยวิวัฒน์ (Thaivivat) เดินเกมเปลี่ยนเกมทำตลาดธุรกิจประกันภัยรถยนต์โดยสารส่วนบุคคลใหม่ เน้นสร้างแพ็คเกจประกันตอบโจทย์รายบุคคล ด้วยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง หรือไอโอที หวังเพิ่มความสะดวกสบายในการใช้บริการ ที่สะดวกรวดเร็ว และจ่ายตามจริงเท่าที่ใช้งาน
จีรพันธ์ อัศวะธนกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริ
จากความต้องการดังกล่าวทำให้ บริษัท ประกันภัยไทยวิวัฒน์ มองหาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาตอบโจทย์ความต้องการดังกล่าวเรา จึงได้เดินหน้าพัฒนาประกันของเราให้ออกมาในรูปแบบที่ผู้ใช้บริการสามารถควบคุมค่าใช้จ่ายของการซื้อประกันได้ด้วยตนเองผ่านอุปกรณ์พกพาติดตัวอย่างสมาร์ทโฟน
โดยในปีที่ผ่านมาเราได้พัฒนาแอพพลิเคชั่น Thaivivat ที่มี T.Beacon ที่ให้ผู้ใช้งานสามารถเลือก “เปิด-ปิด” ได้ด้วยตัวเองผ่านแอปในโทรศัพท์มือถือ และระบบจะคิดค่าเบี้ยประกันตามนาทีจริงที่เราใช้รถ ซึงเพิ่มความสะดวกสบายให้แก่ลูกค้า เพราะจ่ายเท่าที่ใช้เท่านั้น
การพัฒนาของไทยวิวัฒน์ที่นำเอาเทคโนโลยีมาใช้เป็นสิ่งเรียกว่าเป็นการทำตลาดในรูปแบบเฉพาะกลุ่ม (Micro Segmentation) ซึ่งได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้บริโภคที่ต้องการซื้อประกันแต่ไม่อยากจ่ายเบี้ยเกินกว่าพฤติกรรมการขับขี่รถยนต์ของตนเอง
อย่างไรก็ดีแม้ว่าในปัจจุบันตลาดเริ่มที่จะมีความเข้าใจมากขึ้นในขั้นตอนการใช้งานแล้วก็ตาม แต่เราก็ยังต้องการพัฒนาบริการของเรามากขึ้น เพราะเล็งเห็นถึงปัญหาที่ลูกค้าประสบ จากการใช้บริการ อาทิ การที่ต้องเปิด Bluetooth และเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต และห้ามปิด แอพฯ แม้ว่าจะเป็นการทำงานเบื้องหลัง
หรือการลืมปิดการทำงานของ แอพฯ เมื่อรถหยุดจอด ทำให้ผู้ใช้เวลาจากระบบเบี้ยประกันที่ซื้อไปอย่างไม่รู้ตัว ซึ่งแม้ว่าจะสามารถตั้งเวลาล่วง ปิด-เปิด เอาไว้ได้ล่วงหน้าก็ตาม แต่ก็ยังมีความผิดพลาดเกิดขึ้นล่าสุดเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวเราจึงได้จับมือกับผู้ให้บริการทางโครงข่ายสัญญาณที่มีเทคโนโลยี
และโซลูชั่น อย่าง เอไอเอส ในการพัฒนาบริการประกันแบบ เปิด-ปิด อัตโนมัติ ที่ผู้ใช้งานไม่ต้องมาคอยกังวลกับขั้นตอนในการใช้งานด้วยการใช้ เอ็นบี-ไอโอที Motor Tracker ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ทำงานอยู่บนคลื่นความถี่ต่ำ (Narrowband Internet of Things)
ซึ่งเป็นมาตรฐานใหม่ล่าสุดของการเชื่อมต่ออุปกรณ์ ไอโอที ต่างๆ เข้าสู่อินเทอร์เน็ตมือถือ แทนที่จะเชื่อมต่อผ่าน 3G/4G และกินพลังงานน้อย ซึ่งตรงจุดนี้ทำให้อุปกรณ์ สามารถทำหน้าที่ในการรับส่งข้อมูลได้รวดเร็ว แม่นยำขึ้น และเก็บรวบร่วมข้อมูลไปยังศูนย์ข้อมูล เพื่อทำการประมวลต่อไป
เราได้นำเอา เอ็นบี-ไอโอที Motor Tracker มาทำในชื่อ เอ็นบี-ไอโอที Motor Tracker for UBI โดยตัวโซลูชั่น จะทำงานโดยใช้เทคโนโลยีติ
ผ่านแพลตฟอร์ม เอไอเอส ไอโอที และมาประมวลผลยัง Thaivivat Server พร้อมแจ้งเตือนไปยังแอปพลิเคชัน Thaivivat Motor เพื่อเริ่มต้นเปิดประกันภั
เพื่อปิดประกันให้อัตโนมัติเช่
จึงได้ความแม่นยำและความถูกต้
ผ่านช่องเสียบแบบ USB ทำให้การติดตั้ง ไม่ยุ่งยาก แต่มีข้อแม้ว่า จะต้องซื้ออย่างน้อย 4 เดือนขึ้นไป โดยค่าอุปกรณ์จะร่วมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการซื้อประกันเรียบร้อยแล้ว แต่หากต้องการซื้อใช้งานน้อย ก็สามารถไปซื้อตัวอุปกรณ์ได้ที่ช้อปของเอไอเอสได้เช่นกัน
สำหรับการเชื่อมโยงสัญญาณของอุปกรณ์นั้น ก็สามารถใช้งานได้ครอบคลุมทั่ว 77 จังหวัดทั่วประเทศ โดยในส่วนของพื้นที่บางพื้นที่ ที่มีสัญญาณน้อยนั้น ผู้ใช้ก็ไม่ต้องห่วงเนื่องจากตัวอุปกรณ์สามารถเก็บข้อมูลได้ในตัว และส่งข้อมูลเข้าศูนย์กลางในทันทีเมื่อสัญญาณกลับมา
นอกจากนี้ การใช้เทคโนโลยี ใหม่ อย่าง ไอโอที นี้ยังช่วยให้เราสามารถพัฒนาต่อยอดไปยังบริการอื่น ๆ ในอนาคตได้อีกด้วย
เอไอเอส ตั้งเป้าหนุนธุรกิจสร้างธุรกิจใหม่ๆ ด้วยเทคโนโลยี
ยงสิทธิ์ โรจน์ศรีกุล หัวหน้าคณะผู้บริหารกลุ่มลูกค้
มอบความไว้วางใจเลือกใช้โซลูชัน เอ็นบี-ไอโอที Motor Tracker for UBI ในการเพิ่มขีดความสามารถให้กั
และทำให้ดูแลลูกค้าขององค์
โดยเอไอเอสพร้อมมอบบริการดิจิทัลที่
กับอุปกรณ์ ไอโอที บนเครือข่าย เอไอเอส เอ็นบี–ไอโอที ที่ครอบคลุมทั้ง 77 จังหวัดทั่วประเทศ และพร้อมให้คำปรึกษากับทุกองค์
โดยทดลองวางจำหน่าย เอ็นบี–ไอโอที Motor Tracker ซึ่งเป็นโซลูชันติ
ส่วนขยาย * บทความเรื่องนี้น่าจะเป็นประโยชน์สำหรับการวิเคราะห์ในมุมมองที่น่าสนใจ ** เขียน: ชลัมพ์ ศุภวาที (บรรณาธิการ และผู้สื่อข่าว) *** ขอขอบคุณภาพประกอบบางส่วนจาก www.pexels.com
สามารถกดติดตามข่าวสารและบทความทางด้านเทคโนโลยีของเราได้ที่