5 วิธีเปลี่ยนการทำงานขององค์กร ให้ก้าวสู่รูปแบบอไจล์ (Agile) เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงในโลกธุรกิจ และแก้ไขปัญหาข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว…
highlight
- วันนี้หลายองค์กรในโลกธุรกิจ ได้เลือกใช้วิธี
การทำงานนี้ กับหลาย ๆ โครงการ หรือแม้กระทั้งการพัฒนาผลิตภั ณฑ์ และบริการใหม่ ๆ ซึ่งสามารถทำได้ 5 วิธี ได้แก่ การแบ่งรอบการดำเนินงานเป็นระยะเวลาสั้นๆ, การทำงานโดยใช้ Task board, การมีประชุมสั้นๆก่อนเริ่มงานทุกวัน, การรีวิว และทดสอบงานในทุกๆ ช่วงการดำเนินงาน และการวิเคราะห์วิธีการทำงานที่ผ่านมาเพื่อการพัฒนา
5 วิธีการทำงานแบบอไจล์ (Agile)
การทำงานแบบอไจล์ (Agile) หรือ การทำงานในทีมที่ประกอบไปด้วยบุ
จากการกำหนดเป้
ซึ่งช่วยเรื่องต้นทุนที่เกี่
พชร อารยะการกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บลูบิค กรุ๊ป จำกัด กล่าวว่า การทำงานแบบอไจล์ ที่มิได้จำกัดอยู่แค่ในวงสตาร์
การแบ่งรอบการดำเนินงานเป็นระยะเวลาสั้นๆ (Sprint planning) คือการทำงานที่สามารถส่งมอบงานบางส่วน โดยไม่จำเป็นต้องรอจนกว่าจะเสร็จทั้งหมด และทยอยส่วนที่เหลือในรอบต่อๆไป เพื่อต่อสนองธุรกิจในปัจจุบันมีการแข่งขันที่สูง และความต้องการของผู้ใช้งานเปลี่ยนแปลงบ่อย
การทำงานโดยใช้ Task board (print Execution) เป็นบริหารการทำงาน โดยแบ่งสถานะการทำงานเป็น To-do, Doing and Done เพื่อให้ทุกคนในทีมได้อัพเดทและเห็นงานทั้งหมดร่วมกัน
การมีประชุมสั้นๆก่อนเริ่มงานทุกวัน (Daily meeting)เป็นการที่ทุกคนบอกกับทีมว่าวันนี้จะทำอะไร เราติดปัญหาอะไรอยู่ และต้องการความช่วยเหลืออย่างไร นอกจากนี้ยังเป็นการช่วยให้ทุกคนในทีมมีความกะตือรือร้นในการทำงานยิ่งขึ้น
หรือบางครั้งเราอาจจะใช้วิธีการที่เรียกว่า “Standup Meeting” หรือยืนประชุม เพื่อป้องกันการประชุมที่ใช้เวลานานเกินไป เพราะบางครั้งการที่เรานั่งประชุม จะทำให้เราสบายเกินไป และมีการคุย การนอกเนื่องเหนือจากประเด็นที่จำเป็น
การรีวิวและทดสอบงานในทุกๆ ช่วงการดำเนินงาน (Sprint Review)เป็นการทดสอบว่าเราทำงานเสร็จตามแผนที่วางไว้หรือไม่ ผลลัพธ์ที่ได้ตลอดรอบการดำเนินงานเป็นอย่างไร มีส่วนใดที่เกิดปัญหาและมีวิธีแก้ปัญหาอย่างไร
การวิเคราะห์วิธีการทำงานที่ผ่านมาเพื่อการพัฒนา (Retrospective)เป็นการที่ทีมร่วมกันทบทวนวิธีการทำงานที่ผ่านมา โดยคิดว่าอะไรที่ ทำมาดีแล้วควรทำต่อไป อะไรที่เป็นปัญหาสมควรแก้ไข และจะทำอย่างไรให้วิธีการทำงานร่วมกันนั้นดีขึ้นหรือมีอะไรใหม่ ๆ ที่อยากจะลอง ในรอบการทำงานถัดไป
ส่วนขยาย * บทความเรื่องนี้น่าจะเป็นประโยชน์สำหรับการวิเคราะห์ในมุมมองที่น่าสนใจ ** เขียน: ชลัมพ์ ศุภวาที (บรรณาธิการ และผู้สื่อข่าว) *** ขอขอบคุณภาพประกอบบางส่วนจาก www.pexels.com
สามารถกดติดตามข่าวสารและบทความทางด้านเทคโนโลยีของเราได้ที่