เคพีเอ็มจี เผยผลสำรวจผู้บริโภคและค้าปลีกทั่วโลก (Global Consumer Executive Top of Mind Survey) พบผู้บริหารในธุรกิจผู้บริโภคและค้าปลีกทั่วโลก ทราบว่าต้องรักษาความเชื่อมั่น และความภักดีของลูกค้ามีความสำคัญ ยังขาดองค์ความรู้แต่ความสามารถในการเข้าถึงประสบการณ์เฉพาะของลูกค้า
เคพีเอ็มจี อินเตอร์เนชั่นแนล และซีจีเอฟ (The Consumer Goods Forum: CGF) เปิดเผยว่า ความเชื่อมั่น และความภักดีของลูกค้าเป็นเป้าหมายสูงสุดในช่วงระยะเวลา 2 ปีข้างหน้า และเกือบ 3 ใน 4 ของผู้ตอบแบบสอบถาม (74%) กล่าวว่า ความเชื่อมั่นและความภักดีของลูกค้ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อความสำเร็จในระยะสั้นของธุรกิจ
แต่ผลสำรวจเผยผู้บริหารในธุรกิจผู้บริโภคและค้าปลีกจากบริษัทชั้นนำทั่วโลก พบว่ายังขาดองค์ความรู้ (Know-How) และความสามารถในการดึงดูดและรักษาฐานลูกค้า โดย 39% ของผู้บริหารที่ทำแบบสอบถาม ยอมรับว่า ความสามารถในการเข้าถึงประสบการณ์เฉพาะของลูกค้ายังอยู่ในเกณฑ์ต่ำถึงปานกลาง
โดยแม้ว่าผู้บริหารในธุรกิจผู้บริ
วิลลี่ ครูห์ ประธาน ฝ่ายธุรกิจผู้บริโภคและค้าปลีก เคพีเอ็มจี กล่าวว่า นปัจจุบัน ผู้บริหารหลายท่านเล็งเห็นว่า ธุรกิจรูปแบบใหม่สามารถส่
ดั้งนั้น เพื่อให้เข้าถึงลูกค้าได้มากขึ้
ยิ่งไปกว่านั้น ประสบการณ์ของลูกค้ายังขึ้นอยู่
ด้าน นิตยา เชษฐโชติรส กรรมการบริหาร ฝ่ายธุรกิจสินค้าอุปโภคบริโภค เคพีเอ็มจี ประเทศไทย กล่าวว่า เพื่อมอบประสบการณ์ที่น่าพึ
ธุรกิจ ค้าปลีก ยังต้องเรียนรู้ และพั ฒนา
ขณะที่ ปีเตอร์ ฟรีดแมน กรรมการผู้จัดการ ซีจีเอฟ (The Consumer Goods Forum: CGF) ได้กล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมสิ
ตั้งแต่ ผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจำหน่าย และความสัมพันธ์กับลูกค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ประกอบการจำเป็นต้องให้
โดยในวันนี้ ผู้บริหารจากธุรกิจผู้บริโภคและค้าปลีกส่วนใหญ่กำลังมองหาเทคโนโลยี เพื่อนำมาใช้ยกระดับประสบการณ์ของลูกค้า ซึ่งผู้บริหารส่วนใหญ่กำลังใช้เทคโนโลยีที่คุ้นเคย เช่น โซเชียลมีเดีย โมบายแอพพลิเคชั่น พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) การชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Payment) การทำธุรกรรมเชิงพาณิชย์ผ่านสมาร์ทโฟน (Mobile Commerce)
และกระเป๋าเงินออนไลน์ (Mobile Wallet) ในการพัฒนาประสบการณ์ของลูกค้า ทั้งนี้ ผู้ทำแบบสอบถามเผยว่า ประสบการณ์ของลูกค้าที่ดียิ่งขึ้นเป็นผลลัพธ์เบื้องต้นที่จะได้รับจากการลงทุนและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเหล่านี้ แต่!! การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่ทั
โดยเราพบว่าเพียง 1 ใน 3 ของผู้ตอบแบบสอบถามระบุว่า พวกเขามีแผนการที่จะนำเทคโนโลยี AI มาใช้ในอีก 2 ปีข้างหน้า อย่างไรก็ดี 41% ของผู้ตอบแบบสอบถามที่มี
วิลลี่ ครูห์ กล่าวเสริมว่า ในขณะที่ผู้ประกอบการบางรายกำลังใช้ หรือมีแผนที่จะนำเทคโนโลยี AI มาใช้ เพื่อพัฒนาการให้บริการแก่ลูกค้า เทคโนโลยี AI มีประสิทธิภาพมากกว่านั้น และสามารถทำได้ทั้งในบริบทการดำเนินงานและการวางกลยุทธ์ ตัวอย่างเช่น การใช้เทคโนโลยี AI ควบคู่ไปกับการใช้ฐานข้อมูลลูกค้า เทคโนโลยี AI สามารถวิเคราะห์และให้ข้อมูลเชิงลึก (D&A)
เพื่อให้ผู้ประกอบการเข้าใจและสามารถคาดเดาความต้องการของลูกค้า ทั้งยังสามารถให้คำแนะนำ และเพิ่มยอดขายได้อีกด้วยอย่างไรก็ดี เมื่อกล่าวถึงการนำข้อมูลมาใช้
แต่ถึงกระนั้น 62% ของผู้ตอบแบบสอบถามกล่าวว่า การนำข้อมูลมาใช้และการวิ
การนำข้อมูลมาใช้และการวิ
ซึ่งข้อมูลเชิงลึกยังสามารถผลั
ในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ประเทศไทยกำลังถูกขับเคลื่อนโดยเทคโนโลยีที่หลากหลาย พฤติกรรมของผู้บริโภคชาวไทยมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วไปในมิติที่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นผลมาจากการวิวัฒนาการของเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ ตัวอย่างเช่น นักช็อปชาวไทยหันมาซื้อสินค้าออนไลน์มากขึ้น การใช้จ่ายในภาคบริการมีจำนวนมากขึ้นกว่าการซื้อสินค้าที่จับต้องได้จริง
และกระแสการใช้จ่ายในเรื่องสุขภาพมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญจจุบัน ผู้บริหารในธุรกิจผู้บริโภคและค้าปลีกมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ และสามารถเข้าถึงได้ง่าย ดังนั้น การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก จะช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถทำความเข้าใจถึงแนวทางการใช้ชีวิตของผู้บริโภค (Customer Journey) และสรรสร้างประสบการณ์ของลูกค้าให้น่าประทับใจ และตรงตามความชื่นชอบส่วนบุคคลมากยิ่งขึ้น