บราเดอร์ (brother) บุกธุรกิจใหม่ ที่ช่วยสร้างโอกาสเหล่าผู้ประกอบการหน้าใหม่ ใช้แรงบันดาลใจ เพิ่มมูลค่างานพิมพ์ผ้าที่สามารถออก แบบและควบคุมการผลิตด้วยตัวเอง…
บริษัท บราเดอร์ คอมเมอร์เชี่ยล (ประเทศไทย) จำกัด หนุนแนวคิด Customization เร่งเครื่องสร้างผู้ประกอบการสร้างผลผลิตและเพิ่มรายได้ ด้วยการเปิดตัวเครื่องพิมพ์ผ้าระบบดิจิทัล Direct to Garment Printer (DTG printer) รุ่น GTX ชี้เทรนด์ผู้ประกอบการธุรกิจอิสระกำลังเปลี่ยนแปลง…
brother รุกตลาดเครื่องพิมพ์ผ้า หวังช่วยสร้าง New Entrepreneurs Creation
โทโมยูกิ ฟูจิโมโตะ กรรมการผู้จัดการ บริษัท บราเดอร์ คอมเมอร์เชี่ยล (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า ในปีนี้นี้บราเดอร์ คอมเมอร์เชี่ยล (ประเทศไทย) ได้ตัดสินใจนำเครื่องพิมพ์ผ้
และงานพิมพ์วัสดุที่ทำจากผ้า เช่น หมวก หรือ รองเท้า รวมถึงธุรกิจผลิตของพรีเมี่ยมที่
นำมาซึ่งการตอบสนองไลฟ์สไตล์
ด้าน ธีรวุธ ศุภพันธุ์ภิญโญ ผู้อำนวยการฝ่ายขายและการตลาด บริษัท บราเดอร์ คอมเมอร์เชี่ยล (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า เราคงปฏิเสธไม่ได้ว่
โดยสินค้า หรือบริการ นั้นจะต้องสามารถตอบโจทย์ ทั้งในด้านของความรวดเร็ว มีคุณภาพ แสดงความเป็นตัวตน และรวมไปถึงสามารถสร้างโอกาสในการสร้างอาชีพได้ และช่วยให้ก้าวสู่รูปแบบของการทำเศรษฐกิจแบบสร้างสรรค์ (Creative Economy) ซึ่งเป็นรูปแบบธุรกิจที่ทั่วโลกให้ความสนใจ
จากเทรนด์ และพฤติกรรมของผู้บริ
ในขณะเดียวกันก็ทำให้ผู้
ปัจจัยเหล่านี้ทำให้เกิดผู้ประกอบการหน้าใหม่ ที่มีสายตาเฉี
ที่ผ่านมาแม้ว่าจะมีผู้ประกอบการอยู่แล้วในตลาด แต่เครื่องที่ใช้จะเป็นเครื่องประกอบ (OEM) ซึ่งการใช้ง่านมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก ไม่สามารถควบคุมคุณภาพ และไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้บริโภคได้ ซึ่งเครื่องพิมพ์ผ้
โดยเราได้เริ่มทำธุรกิจเครื่องพิมพ์ผ้
และวันนี้ บราเดอร์ ประเทศไทย ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ที่ดูแลผลิตภัณฑ์เครื่องพิมพ์ผ้
เครื่องพิมพ์สำหรับธุรกิจพิมพ์ผ้ า
พงษ์พันธ์ สุระวัฒน์เจริญ ผู้จัดการอาวุโสฝ่ายการตลาด มอบผลิตภัณฑ์เครื่องพิมพ์บราเดอร์ กล่าวว่า เครื่องพิมพ์ผ้
ที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการพิมพ์ให้สามารถพิมพ์ลายลงผืนผ้าได้สีที่สวยสดงดงาม และคมชัดมากที่สุด ซึ่งครอบคลุมทั้ง สีขาว และ CMYK อีกทั้งตัวหมึกพิมพ์ Innobella ยังผ่านการทดสอบความสามารถป้องกันยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย และคงทนต่อการซักล้าง (American Association of Textile Chemists and Colorists : AATCC)
และมาตรฐานจากสถาบันทดสอบสิ่งทอ (The International Association for Research and Testing in the Field of Textile Ecology) (Oeko) ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ รวมถึงยังผ่านมาตราฐานในเรื่องของความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Eco passport NEP 1607 Nissenken) อีกด้วย
นอกจากนี้ตัวหัวพิมพ์ภายในเครื่อง GTX นี้ยังมาพร้อมความสามารถในการพิมพ์ในทุกพื้นผิวของผ้า ด้วยความละเอียดระดับ 1200x1200dpi และความสามารถในการทำความสะอาดหัวพิมพ์แบบอัตโนมัติ ในทุก ๆ 7 ชม. จึงช่วยลดการอุดตันของหัวฉีดได้ ทำให้มีอายุการใช้งานที่ยาวนานได้นานมากว่า 5-6 ปี (กรณีไม่เกิดอุบัตืเหตุ)
และยังหมดกังวลในเรื่องขนาดผ้า เพราะตัวเครื่องสามารถขยายแท่นรองการพิมพ์ได้กว้างถึง 16×21 เลยทีเดียว และเรายังออกแบบให้มีการใช้งานที่ง่ายโดยผู้ใช้นั้นสามารถงานได้ทั้งระบบปฏิบัติการ Windows เวอร์ชั่น 7, 8.1 และ10 (32bit/64bit) และระบบปฏิบัติการ Mac OS X v10.12 รวมไปถึงรองรับหน่วยความจำแบบ USB ทำให้ผู้ใช้สามารถสั่งพิมพ์ได้แม้ไม่ได้เชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อีกด้วย โดยตัวเครื่องนั้นนั้นใช้พลังงานในการพิมพ์พอ ๆ กับเครื่องใช้ไฟฟ้าประจำบ้าน (ประมาณ 0.8A)
อีกทั้ง เครื่องพิมพ์ผ้าระบบดิจิทัล รุ่น GTX ยังมีการรับประกัน 1 ปี on-site service โดยลูกค้าสามารถมั่นใจได้ว่
ปัจจุบันเครื่องพิมพ์ผ้าระบบดิจิทัล GTX ของเรานั้นมีผู้ใช้งานแล้วกว่า 20 ราย โดยแบ่งออกแป็นกลุ่มผู้ประกอบการเดิม และผู้ประกอบการหน้าใหม่ที่ต้องการทำธุรกิจด้านออกแบบผลิตภัณฑ์ ซึ่งเรายังให้บริการทั้งในส่วนของการช่วยลูกค้าในการศึกษาการทำตลาด เพื่อสร้างราคาที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นจากงานพิมพ์
ส่วนสนนราคาของเครื่องพิมพ์ผ้าระบบดิจิทัล GTX นั้น นั้นเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 7 แสนกว่าบาท (ไม่รวมเครื่องรีด) ส่วนราคาหมึกนั้นอยู่ที่ประมาณ 3 หมื่นบาท ซึ่งแม้ว่าดูจะมีราคาค่อนข้างสูง แต่หากคิดในเรื่องของความสามารถในการรองรับงาน Creative ที่สามารถนำไปต่อยอดได้หลากหลาย ร่วมถึงความรวดเร็วในการพิมพ์ และความคุ้มค้าของใช้หมึกต่อชิ้นงาน (กรณีพิมพ์งานบนเสื้อยืดแบบเต็มพื้นที่ด้านหน้า ได้อยู่ที่ 1,500-2,000 ตัว โดยประมาณ)
ด้าน พาวิณ เพ็ชรตระกูล ผู้จัดการฝ่ายประชาสัมพันธ์
Photo Gallery
ส่วนขยาย
* บทความนี้เรียบเรียงขึ้นเพื่อวิเคราะห์ในแง่มุมที่น่าสนใจ ไม่มีวัตถุประสงค์มุ่งเพื่อโจมตีหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง
** Compose : ชลัมพ์ ศุภวาที (Editors and Digital Content)
*** ขอขอบคุณภาพบางส่วนจาก www.pexels.com
สามารถกดติดตาม ข่าวสาร และบทความทางด้านเทคโนโลยี ของเราได้ที่