ความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจทั่
หากกล่าวว่าเทคโนโลยี ดิจิทัล สมัยใหม่ที่เข้ามาช่วยให้ผู้ใช้บริการสถาบันทางการเงินมีความคล่องตัวมากกว่า กำลังเข้ามาชิงส่วนแบ่
ทุกที่ทุกเวลา กุญแจคำคัญที่ไม่อาจมองข้าม
ทั้งนี้ผู้บริหาร 83 เปอร์เซ็นต์ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกเห็นว่าดิจิทัลสตาร์ทอัพเป็นภัยคุกคามต่อธุรกิจดังนั้นองค์กรต่างๆ จึงพยายามหาแนวทางนำธุรกิจให้อยู่รอดและเติบโตได้ในช่วงเวลาแห่งความผันผวนนี้ ที่น่าแปลกใจคือองค์กรเริ่มหันหาคำแนะนำจากผู้บริหารด้านการเงิน (CFO) ซึ่งเป็นคนที่พวกเขาไม่เคยคิดถึงมาก่อน
ทำให้บทบาทของ ผู้บริหารด้านการเงิน ทุกวันนี้เปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่เคยมีมาก่อน นอกจากความรับผิดชอบด้านงบประมาณและรายงานทางการเงินต่างๆ แล้ว องค์กรยังต้องการให้ ผู้บริหารด้านการเงิน เป็นหนึ่งในผู้ผลักดันกลยุทธ์เพื่อขับเคลื่อนการเติบโตของธุรกิจและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับธุรกิจ
ดั้งนั้น ผู้บริหารด้านการเงิน จะต้องปรับตัวเพื่อทำหน้าที่อีกหลายประการ เช่น ทำให้องค์กรมั่นใจว่าจะมีการบูรณาการสถานะการเงิน การทำงานในหน้าที่ต่างๆ และการดำเนินธุรกิจเข้าด้วยกัน เพื่อแสดงให้ผู้ถือหุ้นเห็นมูลค่าและผลการดำเนินงานที่ดีที่สุด การเปลี่ยนแปลงนี้ได้เกิดขึ้นแล้วและกำลังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
โดยจากผลการวิจัยเกี่ยวกับผู้
ในอนาคตที่จะมีปริมาณข้อมูลไหลเข้าสู่องค์กรอย่างท่วมท้น ทำให้ ผู้บริหารด้านการเงิน ต้องพึ่งพาแอปพลิเคชั่นที่เป็นปัญญาประดิษฐ์ และแอปพลิเคชั่นที่สามารถปรับตัวเองได้อย่างชาญฉลาด เพื่อวิเคราะห์และเลือกดึงข้อมูลเชิงลึกที่ใช้ประโยชน์ได้จากข้อมูลดิจิทัลมหาศาลที่มีอยู่
ผู้รอบรู้เชี่ยวชาญทุกด้าน ด้วย ดิจิทัล
นอกจากนี้ ‘ทัศนคติ’ ของคนรุ่นใหม่จะเป็นตัวกำหนดลั
ผู้บริหารด้านการเงิน ต้องการเข้าใจองค์กรทุกแง่มุมมากขึ้น มองว่าบทบาทหน้าที่ของตนจะเกี่ยวข้องกับคนอื่นและจะมีวิธีการทำงานร่วมกันเพื่อสร้างผลลัพธ์ที่ดีขึ้นได้อย่างไร Intelligence Group ได้จัดสำรวจและพบว่าคนกลุ่มมิลเลนเนียลจำนวนสี่ในห้าคนต้องการวัฒนธรรมการทำงานร่วมกัน มากกว่าแบบที่ต้องแข่งขันกัน
และนั่นป็นความเชื่อที่มีผลต่อพฤติกรรมของ ผู้บริหารด้านการเงิน ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ที่จำเป็นต้องมองเห็นภาพใหญ่ขององค์กร เพิ่มความร่วมมือและการทำงานร่วมกันให้กับทุกภาคส่วนของธุรกิจได้มากขึ้น ผู้บริหารด้านการเงินที่ทันเกมจะนำข้อมูลจากแหล่งต่างๆ จำนวนมากมาใช้เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกและเชื่อมโยงหน่วยงานต่างๆ ขององค์กรเข้าด้วยกัน
นอกจากข้อมูลภายในที่ควบคุมด้วยระบบวางแผนการใช้ทรัพยากรขององค์กร (ERP) ระบบบริหารจัดการประสิทธิภาพในการทำงาน (EPM) และแอปพลิเคชั่นอื่นๆ และใช้ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตออฟธิงค์ (IoT) เพื่อช่วยให้เข้าใจธุรกิจมากขึ้นอย่างไม่เคยมีมาก่อน
เช่น เครื่องตรวจสภาพอากาศจะแจ้งเตือนล่วงหน้าว่าอาจมีพายุที่จะเป็นอุปสรรคต่อการขนส่งสินค้า หรือ ข้อมูลจาก Fitbit จะช่วยให้รู้ว่าพนักงานอยู่ในความกดดันมากน้อยเท่าใด และเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ
และให้
รวมถึงนักคิดรุ่นใหม่ๆ ทุกช่วงอายุที่เข้าใจเทคโนโลยี
ด้วยการบูรณาการข้อมูลมหาศาลกั