3 นักศึกษา จาก 2 คว้าแชมป์จากเวที Huawei ICT Competition Thailand 2018-2019 เตรียมซุ่มฝีมือลงชิงชัยในเวทีระดับโลก ณ. เมืองเซิ่นเจิ้น สาธารณรัฐประชาชนจีน กลางปี 2019…
Huawei ICT Competition Thailand 2018-2019
โทมัส โจว ผูู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ และการสื่อสาร ประจำภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉีย
เพื่อทำให้เกิดการใช้เทคโนโลยีไ
ดังนั้น บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำกัด จึงได้วางแผนทุ่มงบกว่า 81 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในระยะเวลา 3 ปี เพื่อส่งเสริมนักพัฒนา (Developer Enablement Program) โดยที่ผ่านมาเราได้สร้่างเยาวชน
ไม่ว่าจะเป็น ศูนย์โอเพ่นแล๊บ, การฝึกอบรมด้านไอซีที, การมอบทุนการศึกษา และการจัดกิจกรรมการแข่งขัน และโครงการบ่มเพาะเมล็ดพันธุ์แห่
ในโครงการ หัวเว่ย ICT Competition Thailand 2018-2019 ขึ้น ภายใต้แนวคิด Connection Glory Future ขึ้นตั้งแต่เดือน กันยายน 2018 โดยตลอดระยะ 6 เดือน ที่ทางหัวเว่ยได้จัดการแข่งขัน และอบรม มีนักศึกษาจากทั่วประเทศเข้าร่ว
และมีเยาวชนกว่า 200 ราย ที่สามารถทำคะแนนสูงสุด และผ่านเข้ารอบ และร่วมอบรมในกิจกรรม หัวเว่ย Camp Thailand Competition และเมื่อสิ้นสุดโครงการช่วงเดือ
ซึ่งจากการเข้าร่วมอบรม และทดสอบหลักสูตรประกาศนียบัตร หัวเว่ย Certified ICT Associate : Routing and Switching (HCIA-R&S) จาก หัวเว่ย เรายินดีที่จะประกาศว่าวันนี้โค
ซึ่งคว้ารางวัลชนะเลิศ ขณะที่รองชนะเลิศอันดับ 1 และรองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ นายณัฐพร พรสวัสดิ์ และนายกัณฐ์ เตโชสกลดี จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเ
จะได้เป็นตัวแทนของประเทศไทยในก
สำหรับแผนในการสนับสนุนพัฒนานั้น หัวเว่ย จะเดินหน้าประสานความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เพิ่มเติม รวมไปถึงความร่วมมมือกับหน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการพัฒนากำลังคนด้านไอซีทีต่อไปในอนาคตได้อย่างยั่งยืน
สำหรับโครงการ หัวเว่ย Camp Thailand Competition 2018-2019 ครั้งนี้ถือเป็นการสานต่อโครงการที่เราจัดขึ้นต่อเนื่องทุกปีตั้งแต่ในปี 2015 เพราะเล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาเทคโนโลยี ไอซีที ที่ต้องมีความเข้มแข็งจากรากฐานทั้งในด้นาเทคโนโลยี และพลังของบุคลากร
โดยปัจจุบันโครงการนี้ได้ถูกจัดขึ้นแล้วในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็น ยุโรป, ละตินอเมริกา, แอฟฟริกาใต้, ออสเตรเลีย, รัสเซีย และเอเซีย
วางรากฐานคือสิ่งสำคัญของการก้าวสู่โลกอัจริยะ
ด้าน ดร.พันธ์ศักดิ์ ศิริรัชตพงษ์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม กล่าวว่า เวทีการแข่งขันนี้คือหนึ่งในเวทีที่มีประโยชน์ที่จะช่วยให้เยาวชนของประเทศ สามารถฝึกฝนทักษะ และใช้วิชาความรู้ที่ได้เรียนมาเพื่อแข่งขันกัน และเป็นส่วนประกอบสำคัญที่จะช่วยให้ประเทศไทยก้าวสู่โลกอัจริยะ
ที่ทุกสิ่งเชื่อมโยงกัน ในอนาคตเราจะเห็นความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถ รับส่งสัญญาณระหว่างกันได้ เมื่อมีความก้าวหน้าของเซ็นเซอร์ที่ดีมากขึ้น และโครงข่ายสัญญาณถูกพัฒนาจนไปถึงระดับที่มีค่าความหน่วงต่ำผ่านเทคโนโลยี 5G อนาคตเราจะเห็นการใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI)
ในรูปแบบที่เป็นเรื่องธรรมดาทั่วไป (General-Purpose Technology) เช่นเดียวกับระบบการจ่ายกระแสไฟฟ้า และระบบจ่ายน้ำ ซึ่งการวางรากฐานทางเทคโนโลยีจะสร้างการเติบโตให้กับโลกดิจิทัล ซึ่งแน่นอนว่าการพัฒนาขีดความสามารถให้คนรุ่นใหม่ถือเป็นสิ่งที่สำคัญในการสร้างประเทศ
โดยเฉพาะหากเราต้องการที่ก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางทางอาเซียน การบ่มเพาะเยาวชนคนรุ่นใหม่ จะทำให้เกิดกระบวนการใช้คนที่มีความรู้เท่าทันเทคโนโลยี และใช้ได้อย่างเชี่ยวชาญ ที่สามารถในสร้างสรรค์ความคิด และไอเดียดีๆ จากการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
ส่วนขยาย
* บทความนี้เรียบเรียงขึ้นเพื่อการวิเคราะห์ในแง่มุมที่น่าสนใจ
** เขียน: ชลัมพ์ ศุภวาที (บรรณาธิการและผู้สื่อข่าว)
*** ขอขอบคุณภาพบางส่วนจาก www.pexels.com
สามารถกดติดตามข่าวสารและบทความทางด้านเทคโนโลยีของเราได้ที่